Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » คำถามสุขภาพ » โรคและอาการ » โรคเรื้อรัง

โรคเรื้อรัง

  • มะเร็งศรีษะและลำคอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    ถาม : จุมพล/ร้อยเอ็ดผมมีอาการเสียงแหบมาเกือบเดือนแล้ว ไม่ทราบว่าเป็นผลมาจาการดื่มเหล้าและสูบบุหรี่หรือไม่ (กลัวเป็นมะเร็ง) ครับ ตอบ : นพ.พรชัย โอเจริญรัตน์การดื่มสุราและสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งศรีษะและลำคอ โดยผู้ป่วยอาจมีความคิดปกติระดับยีนที่เสริมให้เกิดมะเร็งจาการดื่มสุราและสูบบุหรี่นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่น เช่น ภาวะทางภูมิคุ้มกันผิดปกติทางพันธุกรรม ...
  • มะเร็งไต

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มกราคม 2554
    ถาม : ทักษิณา/ลพบุรีดิฉันขอเรียนถามว่า ไตของคนเรามีโอกาสเป็นมะเร็งด้วยหรือคะ ตอบ : นพ.วิเชียร ศรีมุนินทร์นิมิตถ้าพูดถึงมะเร็ง คนส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับมะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก เป็นต้น แต่ปัจจุบัน โรคมะเร็งไต (renal cell carcinoma) ได้เกิดขึ้นกับคนไทย แม้ว่าจะเป็นกันไม่มากเมื่อเทียบกับมะเร็งชนิดอื่นๆ ก็ไม่ควรละเลยกันทั่วโลกมีผู้ชายที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งไต ๔.๗๕ ...
  • ป้องกันภูมิแพ้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 365 กันยายน 2552
    ถาม : นภาพร/กรุงเทพฯอายุ 30  ปีแล้วค่ะ เป็นภูมิแพ้จากกรรมพันธุ์ ขณะนี้มีลูกสาวอายุ 2 ขวบ ต้องการทราบวิธีการปฏิบัติตัว เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาภูมิแพ้ในอนาคต ทั้งของตัวเองและของลูกสาว1. ตัวเองจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ไม่ให้ภูมิแพ้กำเริบ (อยู่กับภูมิแพ้โดยที่ภูมิแพ้ไม่มารบกวนให้เสียงาน)2. ลูกสาวจะมีโอกาสเป็นภูมิแพ้ด้วยหรือไม่ อย่างไร ตอบ : นพ.ปารยะ ...
  • ความดันเลือดสูง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 357 มกราคม 2552
    ถาม : มนัส/จันทบุรีเดือนพฤษภาคมผมเคยวัดความดันเลือดด้วยเครื่องวัดระบบดิจิตอล ได้ค่าความดันเลือดตัวบน 160 และค่าความดันเลือดตัวล่าง 100 หมอให้ยาเม็ดสีชมพูมากินครั้งละครึ่งเม็ด และแนะนำให้ลดการกินอาหารเค็มอีก 1 เดือนต่อมาไปวัดความดันเลือดอีก ผลก็คือ 148/90 ครั้งนี้หมอให้ยาเพิ่มอีกเม็ดสีขาว ให้กินครั้งละ 1 เม็ด (รวมกินยาสีชมพูและสีขาวคือครั้งละ 1 เม็ดครึ่ง)ต่อจากนั้นไปวัดความดันเลือดทุกเดือน ...
  • โรคข้อกระดูกชนิดติดแข็ง

    วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    ถาม ปัจจุบันมีการรักษาโรคข้อกระดูกชนิด ติดแข็งให้หายขาดได้หรือไม่หรือมีวิธีบรรเทาให้ข้อติดกันช้าลงอย่างไรได้บ้างครับ.สมาชิกตอบ โรคข้อกระดูกชนิดติดแข็ง (ankylosing spondylitis) เป็นโรคในกลุ่มไขข้ออักเสบเรื้อรังชนิดแข็ง ซึ่งจะมีผลต่อข้อกระดูกหลังและข้อต่อกระดูกเชิงกราน เป็นโรคที่มีความสัมพันธ์กับยีนบางชนิด ดังนั้น จึงไม่หายขาด แต่โชคดีที่โรคดังกล่าวมีการดำเนินโรคจำกัด คือ ...
  • มะเร็งปากมดลูก

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถาม  :   มะเร็งปากมดลูกเกิดจากเชื้อเอชพีวี 100% หรือไม่ และไม่ได้เกิดจากเชื้อเอชพีวีมีหรือไม่ ...
  • Amitriptyline และ fluoxetine

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ถาม การให้ยา amitriptyline และ fluoxetine ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มีข้อแตกต่างอย่างไร และต้องใช้ระยะเวลานานเท่าไร.สมาชิกเก่าตอบ ความแตกต่างของยา 2 ขนานอยู่ที่อาการข้างเคียง ความปลอดภัย และการปรับขนาดยา.- ยา amitriptyline เป็นยาแก้ซึมเศร้า กลุ่ม tricyclic อาการข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ ง่วงซึม ตาพร่ามัว ท้องผูก มี postural hypotension และทำให้มี PR และ QRS interval ยาวขึ้น ...
  • หอบหืดดูแลตนเองอย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ถาม : ณหทัย/กรุงเทพฯหลานชายของดิฉันเป็นหอบหืด ทั้งๆที่พ่อแม่ ก็ไม่มีอาการการปฏิบัติตัวของผู้ที่เป็นหอบหืด จะต้องทำอย่างไรบ้างตอบ : นพ.พิพัฒน์ ชูวรเวชกรณีพ่อแม่ไม่เป็นหอบหืด ไม่ได้หมายความว่าลูกจะไม่เป็น ซึ่งอาจจะมีใครสักคนทางฝ่ายปู่ย่าและตายายที่เป็นหอบหืดแต่คุณไม่รู้ก็ได้โรคหอบหืด เรียกสั้นๆว่า โรคหืด เป็นโรคของหลอดลมหายใจ ผู้ป่วยจะหอบเหนื่อย ไอและมีเสียงหายใจดัง เป็นอาการของหายใจติดขัด ...
  • Sciatica จาก disc herniation ผ่าตัดเร็วดีกว่าไม่ผ่า หรือไม่

    วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • Cardiac bruits กับความเสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

    วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa