Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คำถามเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ
  • ขนาดตัวอักษร  Normal size text | Increase text size by 10% | Increase text size by 20% | Increase text size by 30%

คำถามเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ

โพสโดย somsak เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2551 00:00

ถาม
การใช้ยา sulperazone จำเป็นต้องให้วิตามินเค ร่วมด้วยทุกครั้งหรือไม่

 


ตอบ
ยา sulperazone เป็นยาปฏิชีวนะ ประกอบ  ด้วยยา 2 ชนิด คือ cefoperazone และ sulbactam อย่างละ 1 กรัม เนื่องจากโครงสร้างของ cefoperazone จะไปรบกวนการสร้างวิตามินเคของผู้ป่วย ส่งผลให้เกิด hypoprothrombinemia และอาจเพิ่มความเสี่ยงของเลือดออกมากกว่าปกติถึงแม้ว่าจะมีโอกาสไม่มากก็ตาม.


ในกรณีที่พบว่าผู้ป่วยเกิดอาการ hypoprothrombinemia วิธีแก้ไขคือ การให้วิตามินเคทดแทน ในขนาด 5-15 มก. สัปดาห์ละครั้ง. การให้วิตามินเคทดแทนในผู้ป่วยที่ได้รับ sulperazone นั้น ควรประเมินว่าผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยง มีภาวะทุพโภชนาการ ระบบการดูดซึมผิดปกติ ติดสุราเรื้อรัง หรือได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดเป็นเวลานาน (prolonged  hyperalimentation regimens) หรือไม่. ผู้ป่วยเหล่านี้ควรได้รับวิตามินเคทดแทน เนื่องจากผู้ป่วยทุกราย ที่ได้รับยา sulperazone ควรได้รับการติดตามและประเมินค่า prothrombin time (PT), partial thromboplastin time (PTT) อย่างสม่ำเสมอ.


เอกสารอ้างอิง
 1. Andrassy K, Koderisch J, Fritz S, et al. Infection 1986; 14(1):27-31. 

 2. Lacy CF, Armstrong LL, Goldman MP, Lance LL. Drug information handbook. Ohio :  Lexi-Comp 's Inc, 2002:246-7.

 3. McEvoy GK, ed. AHFS information handbook. Bethesda : American Society of Health-System Pharmacist; 2004; 163-7.

 4. Strom BL, Schinna R, Gibson GA, et al. Pharmacoepidemiol Drug Saf 1999; 8(2): 81-94.

พีรวัฒน์ จินาทองไทย ภ.บ., ประกาศนียบัตรบัณฑิต (เภสัชบำบัด), เภสัชกรประจำบ้าน กลุ่มวิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,
สุณี เลิศสินอุดม ภ.บ., อ.ภ., ประกาศนียบัตรบัณฑิต (เภสัชบำบัด), อาจารย์, สาขาวิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ, คณะเภสัชศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
สุภัสร์ สุบงกช ภ.บ., M.Sc (Clinical Research), Pharm.D.  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ, คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ป้ายคำ:
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • คู่มือดูแลสุขภาพ
  • ยาและวิธีใช้
  • คุยสุขภาพ
  • ถาม-ตอบเรื่องยา
  • ผศ.ภก.สุภัสร์ สุบงกช
  • ภก.พีรวัฒน์ จินาทองไทย
  • ภก.สุณี เลิศสินอุดม
  • อ่าน 29,662 ครั้ง
  • พิมพ์หน้านี้พิมพ์หน้านี้
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

  • สนับสนุนสื่อสุขภาพออนไลน์หมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • คำแนะนำสำหรับประชาชน เรื่อง โรคจากเชื้อแบคทีเรีย อีโคไลชนิดรุนแรง
  • ผ่าตัดฟรีสำหรับเด็ก ที่เป็นโรคหัวใจ
  • สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย (สพท.)

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa