Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ศศพินทุ์ ดิษนิล

ศศพินทุ์ ดิษนิล

  • ยำผักกระเฉด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 356 ธันวาคม 2551
    ผักกระเฉดเป็นผักพื้นบ้านที่คุ้นหน้าคุ้นตากันดี พบเห็นได้ในตลาดสดต่างๆ เป็นที่นิยมกินกันเรียกว่าแทบจะทุกบ้านก็ว่าได้ ไม่ว่าจะนำมายำ ผัด หรือแม้แต่กินกับน้ำพริกก็อร่อย ผักกระเฉดเป็นพืชล้มลุก ลำต้นลอยน้ำ มีรากตามข้อ มีเนื้อเยื่อหุ้มใช้เป็นทุ่นช่วยพยุงให้ลำต้นลอยอยู่บนผิวน้ำ เหมือนกับชูชีพ เรียกเนื้อเยื่อนี้ว่า ...
  • ยำผักกูด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 355 พฤศจิกายน 2551
    ผักกูด เป็นผักที่สามารถบอกสภาวะแวดล้อม ให้รู้ว่าดินและอากาศดี มีสารพิษเจือปนอยู่หรือไม่ ถ้าดินไม่ดี อากาศไม่ดี ผักกูดจะไม่ยอมขึ้นหรือแตกต้นในบริเวณนั้น ผักกูดที่ชาวบ้านนิยมกินกันจะเป็นผักกูดที่ออกในหน้าแล้งเพราะรสชาติจะอร่อยกว่าฤดูอื่นๆ ปัจจุบันมีการเก็บขายส่งไปญี่ปุ่น ซึ่งชาวญี่ปุ่นจะนำไปดองกับเกลือ เรียกว่า ...
  • บะหมี่กรอบราดหน้าทะเล

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    บะหมี่เป็นผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเส้นที่ชาวจีนคิดค้นขึ้นมา ประกอบด้วย แป้งสาลี และน้ำ เป็นส่วนประกอบส่วนใหญ่ อาจมีไข่ เกลือ และสารละลายด่างหรือสีผสมอาหารประกอบอยู่ด้วยก็แล้วแต่สูตรกรรมวิธีการทำบะหมี่มี 4 ขั้นตอนหลัก คือ1. การผสม2. การรีดให้เป็นแผ่นบาง3. การตัดให้เป็นเส้น4. การทำให้แห้งหรือการทำให้สุกบะหมี่ที่เราเห็นขายตามรถเข็นทั่วๆ ไปเรียกกันว่า บะหมี่สด คือ ...
  • หน่อไม้ฝรั่งผัดกุ้ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 349 พฤษภาคม 2551
    หน่อไม้ฝรั่งมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า แอสพารากัส (Asparagus) เป็นพืชพื้นเมืองแถบยุโรปและแอฟริกา แหล่งที่นิยมปลูกกันมากในประเทศไทยจะอยู่แถว ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี ชลบุรี และนนทบุรีหน่อไม้ฝรั่งเป็นพืชที่เราใช้หน่ออ่อนมาทำเป็นอาหาร โดยจะเก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุ 10 เดือนขึ้นไป จะมี 2 ชนิดคือ หน่อขาวและหน่อเขียวหน่อขาว จะเก็บหน่อที่โผล่พ้นดินขึ้นมาประมาณ 1 เซนติเมตร ...
  • เต้าหู้ทรงเครื่อง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 347 มีนาคม 2551
    ศศพินทุ์ ดิษนิล, ริญ เจริญศิริ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลเต้าหู้ทรงเครื่องเต้าหู้ เป็นอาหารนานาชาติ สำหรับในอาหารไทยเราสามารถนำเต้าหู้มาปรุงอาหารได้ โดยใช้เป็นตัวประกอบกับเครื่องปรุงอื่นๆ เช่น ผัดเปรี้ยวหวาน ผัดผักรวมมิตร เป็นต้น ทั้งยังนำมาเป็นเครื่องปรุงหลัก เช่น เต้าหู้ทอด เต้าหู้ทรงเครื่อง เป็นต้น ด้วยอาหารไทยนี้สามารถนำเอาวัฒนธรรมการกินของหลายๆ ...
  • ผัดคะน้าหมูกรอบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 345 มกราคม 2551
    ผัดคะน้าหมูกรอบคงไม่มีใครปฏิเสธว่าไม่รู้จัก "ผักคะน้า" เพราะผักคะน้ามีขายอยู่ทั่วไป หาซื้อง่ายและสามารถนำไปประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น ก๋วยเตี๋ยวชนิดต่างๆ ผัดกับหมูกรอบ หรือแม้กระทั่งนำไปทำเป็นยำหรือใบเมี่ยงก็ได้ ราคาไม่แพง รสชาติดีผักคะน้าเป็นผักที่ปลูกได้ทุกท้องที่และทุกภูมิอากาศ ใช้เวลาในการปลูกและเก็บเกี่ยวสั้น ใช้พื้นที่ในการปลูกไม่มาก แต่ก็มีศัตรูพืชมากเช่นกัน ...
  • ครองแครงถั่วเขียว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 344 ธันวาคม 2550
    ศศพินทุ์ ดิษนิล, ริญ เจริญศิริ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลครองแครงถั่วเขียวปัจจุบันผู้คนต่างคำนึงถึงสุขภาพของตนเองมากขึ้น แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและอิทธิพลของวัฒนธรรมจากตะวันตก ทำให้มีปัจจัยในการเสี่ยงของโรคต่างๆ มากขึ้น เช่น โรคอ้วน โรคความดันเลือดสูง โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ซึ่งโรคเหล่านี้มีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม ธัญพืชต่างๆ ...
  • แกงคั่ว หอยแครงใบชะพลู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    ศศพินทุ์ ดิษนิล, ริญ เจริญศิริ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลแกงคั่วหอยแครงใบชะพลูชะพลู เป็นผักที่ใช้ปรุงอาหารได้หลายชนิด เช่น ใบอ่อนและยอดใช้กินสดเป็นผักจิ้มน้ำพริก หรือห่อเมี่ยงคำ ลักษณะใบเป็นรูปหัวใจ คล้ายใบพลูที่ใช้กินกับหมาก แต่ใบชะพลูมีขนาดเล็กกว่า มีรสชาติเผ็ดซ่าเล็กน้อย มีดอกเป็นช่อรูปทรงกระบอก สีขาวและค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเขียว ใช้ทำยาได้ ...
  • ยำผักบุ้งทอดกรอบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    เข้าครัวศศพินทุ์ ดิษนิล, ริญ เจริญศิริ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ยำผักบุ้งทอดกรอบ ผักบุ้ง ...
  • ยำมะระกุ้งสด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 336 เมษายน 2550
    ยำมะระกุ้งสดยำมะระกุ้งสดเป็นอาหารประเภทยำที่มีวิธีทำที่ง่าย รสชาติอร่อยและมีเครื่องปรุงไม่มากนัก ก่อนที่จะไปเตรียมเครื่องปรุงจะขอบอกเล่าถึงลักษณะของตัวเอกก่อนคือ มะระจีนนั่นเองมะระจีนมีลักษณะของลำต้นคล้ายมะระขี้นก แต่ใบของมะระจีนจะมีขนาดใหญ่และมีสีอ่อนกว่ามะระขี้นก ส่วนที่ใช้ประโยชน์ทางยาของมะระ ได้แก่ ใบ ผล เมล็ด ราก แม้ว่ามะระจะมีรสขมแต่ก็มีประโยชน์ มีสรรพคุณทางยา เช่น ลดไข้ เป็นยาระบายอ่อนๆ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa