-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
13
พฤษภาคม 2523
ครึ่งเดือนถึงหนึ่งเดือน สภาพผิดปกติ59. สะดือโป่ง (สะดือจุ่น)เด็กบางคนเมื่ออายุใกล้จะหนึ่งเดือน สะดือจะโป่งออกมา โดยเฉพาะเด็กที่ร้องเก่ง หรือเด็กที่ชอบออกแรงเบ่งจนหน้าแดงบ่อย ๆ ทำให้ลำไส้ส่วนหนึ่งโผล่ออกมาทางสะดือ จนสะดือโป่ง เด็กคลอดก่อนกำหนด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
12
เมษายน 2523
ครึ่งเดือนถึงหนึ่งเดือนการเลี้ยงดู 49. เลี้ยงด้วยนมวัวถ้าไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้และจำเป็นเลี้ยงด้วยนมวัวล้วนๆ ข้อควรระวังประการแรก คือ อย่าให้นมมากเกินไป สำหรับเด็กอายุ 2 สัปดาห์ ถึงหนึ่งเดือนนี้ ไม่ควรให้นมแต่ละครั้งเกิน 120 ซีซี. ถึงแม้เด็กจะดูดจนหมดแล้ว และดูท่าทางอยากได้อีกโดยดูดขวดเปล่าจุ๊บๆ คุณไม่ควรเพิ่มนมให้ แต่ให้น้ำสุกหรือน้ำสุกผสมกลูโคสประมาณ 20 ซี.ซี.แทน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
11
มีนาคม 2523
สภาพผิดปกติ (หนึ่งสัปดาห์ถึงครึ่งเดือน) 42. เลือดออกทางสะดือเด็กบางคนเมื่อสะดือหลุดและแห้งไประยะหนึ่งแล้ว กลับแฉะขึ้นมาอีก และเมื่อเอาสำลีซับจะมีเลือดติดออกมาระยะเวลาที่สะดือเด็กจะแห้งก็มี เด็กบางคนจะมีก้อนเนื้อแดงเรื่อขนาดเท่าถั่วแดงอยู่ในสะดือ ซึ่งไม่ใช่เรื่องร้ายแรงอะไร ทิ้งไว้จะหายไปเองตามธรรมชาติ การที่สะดือแห้งช้าหลังจากที่สะดือหลุดแล้ว ไม่ได้หมายความว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
10
กุมภาพันธ์ 2523
38. การดูแลเด็กคลอดก่อนกำหนดหลังออกจากโรงพยาบาลเด็กที่คลอดก่อนกำหนดและน้ำหนักไม่ถึง 2.5 กิโลกรัม ตามปกติทางโรงพยาบาลจะดูแลให้จนน้ำหนักถึง 2.5 กิโลกรัม และสามารถปรับอุณหภูมิร่างกายของตนเองได้ จึงจะให้ออกจาโรงพยาบาล เมื่อเด็กกลับบ้านได้ ก็ให้ถือเสมือนเด็กอายุหนึ่งสัปดาห์ แต่อาจกินนมได้น้อยกว่าเด็กปกติ และปรับอุณหภูมิร่างกายได้ยังไม่ดี ทั้งยังติดเชื้อได้ง่าย ดังนั้นการดูแลเด็กไม่ครบกำหนดที่บ้าน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
9
มกราคม 2523
34. ขอนมคนอื่นในสมัยก่อนถ้านมแม่ไม่พอ เรามักจะหาแม่นมให้ลูก แต่ในปัจจุบันแม่ส่วนใหญ่จะหันไปพึ่งนมวัวแทน เพราะการขอนมคนอื่นนั้นยุ่งยาก และคุณแม่เองก็คิดว่าเลี้ยงด้วยนมผง ดีกว่าเลี้ยงด้วยนมคนอื่น อันที่จริงแล้ว ทารกแรกเกิดถึง 3 เดือน ควรได้รับการเลี้ยงด้วยนมคนจะดีที่สุด ในบางประเทศ จะมีการจ้างแม่นมประจำโรงพยาบาลในบางประเทศมีระบบรวบรวมนมแม่ที่เหลือจากบรรดาแม่ที่มีนมมากมารวมไว้ที่โรงพยาบาล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
8
ธันวาคม 2522
ลักษณะของทารก 31. ระยะหนึ่งสัปดาห์ถึงครึ่งเดือนหน้าที่ดูแลทารกในระยะหนึ่งสัปดาห์ ถึงครึ่งเดือนนี้ ส่วนใหญ่คงเป็นหน้าที่ของคุณย่าคุณยายหรือผู้ช่วยคนอื่น เพราะตัวคุณแม่ยังไม่ค่อยแข็งแรงที่จะดูแลทารกด้วยตนเอง แต่ถ้าคุณแม่ไม่มีใครอื่นเลยนอกจากคนใช้ซึ่งไม่ประสีประสาในเรื่องเลี้ยงเด็ก จึงต้องดูแลด้วยตนเอง คุณควรวางมือจากงานอื่นให้หมด ถึงบ้านจะไม่สะอาดหรืออาหารจะไม่อร่อยสักสองสามอาทิตย์ก็ทนเอาหน่อย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
7
พฤศจิกายน 2522
24. อาเจียนเด็กเกิดระยะ 1-2 วัน อาจอาเจียนเอานมออกมาหมด ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ลำไส้อุดตัน ถ่ายอุจจาระไม่ออก พอกินนมเข้าไปก็เลยอาเจียนออกมาหมด แต่ถ้าเด็กถ่ายอุจจาระดีและท้องไม่แข็งผิดปกติแล้วละก็ลองให้น้ำต้มสุกผสมกลูโคสแทนนมสัก 2-3 ครั้ง เด็กอาจหยุดอาเจียน และเริ่มกินนมได้ดีในวันที่ 3 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
6
ตุลาคม 2522
19. พี่คุณพ่อคุณแม่บางคน อาจคิดว่าลูกคนโต คงจะดีใจเหมือนพ่อแม่ที่จะมีน้องใหม่ เพราะพ่อแม่ดีใจ พี่ก็คงจะดีใจเหมือนกัน แต่ที่จริงแล้ว การมีน้องใหม่ มักเป็นเรื่องเศร้าสำหรับลูกคนโตมากกว่าที่จะเป็นเรื่องดีใจ เพราะก่อนคลอดพ่อแม่ก็มักจะยุ่งอยู่กับการเตรียมเครื่องใช้เด็ก คนรอบด้านมักจะพูดว่า “แม่ไม่เอาหนูแล้ว แม่จะได้น้องใหม่แล้ว” เป็นต้น ทำให้ลูกคนโตรู้สึกว่าตนถูกทอดทิ้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
5
กันยายน 2522
13. การให้นม“การเลี้ยงลูก” ไม่ใช่ “การให้อาหาร” แต่อย่างเดียว คุณต้องให้ความรักด้วย เวลาคุณให้นมลูก คุณควรคิดว่าคุณกำลังให้ “ความรัก” ไม่ใช่กำลัง “ให้อาหาร” น่าเสียดายที่ตามโรงพยาบาลมักจะเลี้ยงเด็กแบบ “ให้อาหาร” เพื่อเพิ่มน้ำหนักมากกว่าอย่างอื่น ถ้าไปดูห้องเด็กตามโรงพยาบาล บางแห่งคุณจะเห็นเด็กนอนเรียงกันเป็นแถว หน้าตะแคงข้าง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
4
สิงหาคม 2522
9.การให้นมลูกด้วย “วิธีสลับ” (นมแม่สลับนมวัว) ถึงแม้ว่าคุณอยากจะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แต่ถ้านมแม่ไม่พอจริงๆ ก็จำเป็นต้องเพิ่มด้วยนมวัว ในกรณีนี้ คุณไม่ควรใช้วิธีให้ลูกดูดนมแม่ทุกครั้งแล้วตามด้วยนมวัว ควรใช้วิธีสลับ คือ เวลาให้นมวัว ก็ให้นมวัวล้วนๆ เวลาที่ให้นมแม่ ก็ให้แต่นมแม่ เพราะถึงตอนที่ต้องให้นมแม่ คุณแม่เองจะพยายามให้ลูกดื่มเต็มที่ เพราะกลัวว่าจะไม่พอ ...