-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
109
พฤษภาคม 2531
อาหารสมุนไพรที่ใช้รักษาอาการหรือโรคที่นำมาเสนอนี้ เป็นการศึกษาของประเทศจีน ซึ่งทางจีนได้มีการค้นคว้าอย่างเป็นระบบ หากท่านผู้อ่านท่าใดได้เคยใช้ในการรักษาอาการ หรือโรคใดและได้ผล กรุณาแจ้งมายัง “หมอชาวบ้าน” เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลศึกษา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
108
เมษายน 2531
ผึ้งเป็นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ มีความสามัคคีกัน และแบ่งงานกันทำตามหน้าที่ มีความขยันหมั่นเพียร ซื่อตรงต่อหน้าที่ ผึ้งเป็นสถาปนิก อุตสาหการ และเภสัชกรชั้นเลิศ เราแบ่งผึ้งออกเป็น 3 ชนิดด้วยกันคือ 1. นางพญาผึ้ง (Queen) มีหน้าที่เพียงอย่างเดียวคือ วางไข่และมีเพียงตัวเดียวในรังหนึ่งๆ ถ้ามีหลายตัวก็จะต่อสู้กันเองจนเหลือตัวเดียวหรือแยกไปสร้างรังใหม่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
106
กุมภาพันธ์ 2531
กินแล้วรักษาโรคมะเร็งและเป็นอมตะจริงหรือ?ข่าวของผู้เชี่ยวชาญอาหารและมะเร็งจากประเทศญี่ปุ่นที่มาบรรยายสรรพคุณของเห็ดหลิงจือว่าสามารถรักษาโรคมะเร็งได้ เป็นที่ฮือฮากันในหมู่ประชาชนชาวไทยและสื่อมวลชนก็ได้เสนอข่าวไป อาจทำให้ประชาชนทั่วๆไปเกิดความเชื่อว่าเห็ดหลิงจือสามารถรักษาโรคได้สารพัดและเป็นยาอายุวัฒนะ กินแล้วเป็นอมตะผู้เขียนได้พยายามหาข้อมูลการศึกษาวิจัยทั้งทางเภสัชวิทยาและรายงานทางคลินิก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
105
มกราคม 2531
เมื่อเอ่ยถึงปู ใครๆก็ร้องอ๋อ! เพราะเนื้อปูนั้นมีรสชาติที่อร่อย ใครๆก็อยากกิน โดยเฉพาะปูอบวุ้นเส้น พูดแล้วชวนให้น้ำลายไหล คนไทยเรารู้จักกินปูมาเป็นเวลาช้านาน (ไม่มีการบันทึกเอาไว้) แต่เราจะได้เห็นจากคำพูดที่ว่า “รีดเลือดปู” ไงละโดยธรรมชาติ ปูเป็นสัตว์ที่ชอบต่อสู้กันเอง ปูจะต่อสู้กันจนขาหัก แต่ดูเหมือนว่าแม้ขาจะหัก ปูก็ยังไม่วิตกกังวลแต่อย่างไร (มนุษย์คิดแทนปูเอง)ปูมีนิสัยที่แปลก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
104
ธันวาคม 2530
อาหารสมุนไพรที่ใช้รักษาอาการหรือโรคที่นำมาเสนอนี้ เป็นการศึกษาของประเทศจีน ซึ่งทางจีนได้มีการค้นคว้าอย่างเป็นระบบ หากท่านผู้อ่านท่านใดได้เคยใช้ในการรักษาอาการ หรือโรคใดและได้ผล กรุณาแจ้งมายัง “หมอชาวบ้าน” เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลศึกษา และเผยแพร่เพื่อให้เป็นประโยชน์ส่วนรวมต่อไปจีนเป็นแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก และเป็นประเทศที่รู้จักการปลูกข้าวก่อนประเทศอื่นๆเมื่อประมาณ 5 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
102
ตุลาคม 2530
พอเอ่ยถึงปลา ใคร ๆ ก็รู้จัก แม้แต่ในหนังสือ ก.ไก่ ก็พูดถึงปลา คือ ป.ปลาตากลม สำหรับสุภาษิตของจีนก็พูดถึงปลาว่า “ปลาเห็นเหยื่อแต่ไม่เห็นเบ็ด คนเห็นผลประโยชน์แต่ไม่เห็นโทษ”นี่ก็พอจะเห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับปลาที่มีมาตั้งแต่โบราณกาลมาแล้วหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า เมื่อประมาณ 17,000 ปีมาแล้ว มนุษย์ถ้ำบนยอดเขา (ซานติ่งต้งเหยิน) รู้จักการจับปลามาเป็นอาหารแล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
101
กันยายน 2530
เมื่อเอ่ยถึงมะเขือยาว ใครๆก็ร้องอ๋อ! เพราะเป็นอาหารที่คนไทยเรานิยมกินกันตลอดปี โดยเฉพาะมะเขือยาวเผาจิ้มน้ำพริก หรือยำมะเขือยาวเผา พูดแล้วรู้สึกทำให้น้ำลายไหลเลยทีเดียว มะเขือยาวนอกจากเป็นอาหารที่อร่อยอย่างหนึ่งแล้ว ยังใช้เป็นยาได้อีกด้วยชื่อวิทยาศาสตร์ Solanum melongena Linn วงศ์ Solanaceaeสรรพคุณผล มีคุณสมบัติเย็น รสหวาน รักษาผิวหนังเป็นแผล ริดสีดวงมีเลือดออก เป็นฝีบวมแดง แก้ปวดดอก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
100
สิงหาคม 2530
อากาศร้อน หลังทำงานเหน็ดเหนื่อย กินถั่วเขียวต้มสักชามก็จะรู้สึกชุ่มฉ่ำใจ แก้กระหายน้ำได้เป็นอย่างดีถ้านอนดึกมีอาการร้อนใน หรือตาแดง เจ็บคอ ท้องผูก ถ้าต้มถั่วเขียวกินก็จะทำให้อาการดังกล่าวหายไป เราสามารถเลือกกินได้ทั้งร้อนหรือเย็น หวานหรือจืดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละบุคคล ชื่อวิทยาศาสตร์ Vigna radiate L. วงศ์ Leguminosae หน้าร้อน ผิวหนังมักเป็นผดผื่นคัน ใช้ถั่วเขียว ใบบัว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
99
กรกฎาคม 2530
โดยทั่วไปเรามักใช้ผักชีโรยหน้าอาหาร หรือน้ำแกงที่กินเพื่อปรุงรสและเพิ่มความอร่อยของอาหาร แต่ในภาษาไทยเรามักใช้คำว่า “ผักชีโรยหน้า” มาใช้ในความหมายที่ไม่ดีการกินผักชีส่วนใหญ่มักกินดิบๆ ไม่ปรุงให้สุก แต่ก็มีที่ปรุงให้สุกแล้วจึงกิน ดังนั้นในการกินผักชีจึงควรล้างให้สะอาด (อย่าล้างอย่างลวกๆอย่างผักชีโรยหน้า) หรือจะลวกน้ำร้อนเพื่อทำลายไข่พยาธิและเชื้อโรคบางชนิดก็ได้ชื่อวิทยาศาสตร์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
98
มิถุนายน 2530
อากาศร้อนอบอ้าวถ้าได้กินน้ำแกงแตงกวากับกุ้ง หรือหมูสับ เป็นน้ำแกงก็คงจะทำให้ชื่นคอชุ่มใจได้ ดังนั้นหน้าร้อนนี้อย่าลืมนำเอาแตงกวามาปรุงเป็นอาหารกินในครอบครัวท่านเสียนะครับถิ่นกำเนิดของแตงกวาคืออินเดีย แตงกวาได้แพร่เข้าไปในประเทศจีนเป็นเวลานานกว่า 2 พันปีมาแล้ว จากสถิติแตงกวาที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่ปลูกได้ เมื่อหลายปีมาแล้วมีชาวสวนของบราซิลท่านหนึ่งได้ปลูกแตงกวา และมีลูกหนึ่งมีน้ำหนัก 32 กก. ยาว ...