ผศ.นพ.ปารยะ อาศนะเสน (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
279
มีนาคม 2551
การวินิจฉัยการวินิจฉัยจำเป็นต้องอาศัยประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจพิเศษเพิ่มเติมดังนี้1. ประวัติ ควรจะได้ประวัติจากคู่นอน หรือครอบครัวของผู้ป่วยด้วย เพราะผู้ป่วยมักจะไม่รู้อาการที่เกิดขึ้นขณะที่ตนหลับ อาจได้ประวัติว่ากรนหรือหายใจเสียงดัง มีช่วงหยุดหายใจ (witnessed apnea) หรือหายใจไม่สม่ำเสมอ. หลังหยุดหายใจ อาจสะดุ้งตื่นหรือพลิกตัว นอนกระสับกระส่ายมาก เหงื่อออกผิดปกติขณะหลับ ...
-
วารสารคลินิก
278
กุมภาพันธ์ 2551
อาการนอนกรน (snoring) เป็นปัญหาและความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ. อาการนอนกรนเป็นอาการที่บ่งบอกถึงการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (obstructive sleep apnea : OSA). ภาวะหยุดหายใจขณะหลับนี้เป็นภาวะที่มีการอุดกั้นในทางเดินหายใจมากจนกระทั่งทำให้เกิดการหยุดหายใจเป็นช่วงๆขณะนอนหลับ. อาการนอนกรน และภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ ...