Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ศ.พญ.อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์

ศ.พญ.อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • Acute Respiratory Distress Syndrome (ARDS)

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    Acute respiratory distress syndrome (ARDS) เป็นภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันที่เกิดจากการที่เนื้อปอดมีพยาธิสภาพเกิดขึ้นอย่างรุนแรง กระจายอย่างรวดเร็วไปที่เนื้อปอดทั้ง 2 ข้าง เป็นผลให้มีภาวะพร่องออกซิเจนอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องทันท่วงทีผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตได้มาก.  หลักเกณฑ์การวินิจฉัย ARDS1 ...
  • การใช้เครื่องช่วยหายใจชนิด noninvasive ในเด็ก

    วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    คำจำกัดความ การใช้เครื่องช่วยหายใจชนิด noninvasive หมายถึงเทคนิคการช่วยหายใจแก่ผู้ป่วยโดยไม่ต้องอาศัย artificial airway ไม่ว่าจะเป็นท่อหลอดลมคอ (endotracheal tube), laryngeal mask airway หรือท่อเจาะคอ (tracheostomy tube).ประวัติความเป็นมาในระยะ 10 กว่าปีที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาการใช้ noninvasive positive-pressure ventilation โดยการอัดก๊าซหรืออากาศเข้าสู่ปอดของผู้ป่วยผ่านทางหน้ากาก (mask) ...
  • การวินิจฉัยและการรักษาเบื้องต้นภาวะการหายใจล้มเหลวในเด็ก

    วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    Respiratory failure in children : recognition and initial managementเมื่อพบผู้ป่วยที่มีอาการหอบเหนื่อย หายใจเร็ว หายใจลำบาก หรือต้องออกแรงในการหายใจมากกว่าปกติ จะต้องคิดไว้เสมอว่าความรุนแรงของอาการเหล่านั้น อาจจะถึงขั้นที่เรียกว่ามีภาวะการหายใจล้มเหลว (respiratory failure) ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในทุกๆ ขณะ. ดังนั้นจึงควรสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ...
  • การดูแลผู้ป่วยเด็ก asthma และ allergy : แนวทางการรักษาผู้ป่วยหนัก (Intensive Care)

    วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    ภาวะที่ผู้ป่วยมีอาการโรคหืดกำเริบอย่างรุนแรง หรือ status asthmaticus หมายถึง การที่ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลมเพื่อรักษาโรคหืดกำเริบแล้วผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้น อาการที่เป็นอาจรุนแรงถึงขั้นที่จะมี respiratory failure ได้.1 ในทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เมื่อพบผู้ป่วยที่มาด้วยโรคหืดกำเริบให้ยาขยายหลอดลมแบบ nebulizer แล้วอาการไม่ดีขึ้นให้คิดถึงภาวะ status asthmaticus ไว้ด้วยเสมอ ...
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa