ชีพจร
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
103
พฤศจิกายน 2530
เมื่อหัวใจเต้น(บีบตัว)เลือดจะพุ่งออกมา(ตามหลอดเลือด) ทำให้หลอดเลือดโป่งขึ้นมาทันที ทำให้คลำได้(ที่เรียกว่าชีพจร) เมื่อหัวใจคลายตัว ชีพจรจะหายไปบริเวณที่คลำชีพจรได้เป็นบริเวณที่หลอดเลือดแดงอยู่ไม่ลึกจากผิวหนังมากนัก เช่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
101
กันยายน 2530
“ชีพจร” เป็นสัญญาณการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ เพื่อไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย บริเวณที่สามารถจับชีพจรได้ชัดเจน คือ1. ที่ข้อมือทั้งสองข้าง โดยใช้นิ้วชี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
56
ธันวาคม 2526
มีข้อถกเถียงกันพอสมควรว่า การนับชีพจรหลังการออกำลังกายหรือเล่นกีฬา สมควรใช้การนับชีพจรที่คอ (ชีพจรคาโรติด) หรือชีพจรที่มือ (ชีพจรเรเดียล) การนับชีพจรที่คอนั้นนับได้สะดวกกว่า เนื่องจากเป็นเส้นเลือดใหญ่แต่ข้อเสียคือ อาจเกิด "คารโรติด ไซนัส รีเฟล็กซ์" ทำให้นับชีพจรต่ำกว่าค่าปกติได้ ซึ่งอาจเป็นผลเสียในคนสูงอายุ และผู้ที่เป็นโรคหัวใจ ส่วนการนับที่ข้อมือนั้นได้ผลกว่าจริง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
16
สิงหาคม 2523
การตรวจร่างกาย( ตอนที่ 10 )ข. การตรวจสิ่งแสดงชีพนอกจากการตรวจร่างกายทั่วไปดังที่ได้กล่าวไว้ในภาค ก. ซึ่งรวมถึงการตรวจกิริยาท่าทาง รูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ กลิ่นเสียง อารมณ์ บุคลิก ความอ้วน ผอม ความรู้สึกตัว (หมดสติ ซึมเซา ง่วงเหงา กระปรี้กระเปร่า) ความแข็งแรง ความกระสับกระส่าย ความกระวนกระวาย ความทุรนทุราย หรืออื่น ๆ แล้วการตรวจร่างกายยังต้องตรวจสิ่งแสดงชีพ ...