Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ » ปวดข้อ

ปวดข้อ

  • กินบำบัดเกาต์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 กันยายน 2550
    รศ.ดร.สุธาทิพ ภมรประวัติ กลุ่มวิชาเภสัชโภชนศาสตร์ โครงการบัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กิน บำบัดเกาต์เกาต์ เป็นโรคข้อที่พบบ่อยชนิดหนึ่ง เกิดจากมีความเข้มข้นของกรดยูริกสูงในร่างกาย ทำให้เกิดผลึกยูเรต (โมโนโซเดียมยูเรต) มีรูปร่าง เหมือนเข็มแหลมๆ สะสม ณ อวัยวะต่างๆ ได้แก่ ข้อ เอ็น ไต ก่อให้เกิดการอักเสบ และทำความเสียหายให้อวัยวะ ต่างๆ ...
  • การตรวจรักษาอาการปวดข้อ (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    ในฉบับก่อนๆ ได้กล่าวถึงอาการปวดข้อตามส่วนต่างๆของร่างกาย ฉบับนี้จะกล่าวถึงการตรวจวินิจฉัยปัญหาปวดข้อให้แน่นอน ที่สำคัญคือประวัติ การซักประวัติให้ดี มักจะช่วยในการวินิจฉัยได้มากเมื่อคนไข้เมื่อคนไข้มาหาเรื่องปวดข้อ สิ่งแรกที่จะต้องทำคือการซักประวัติและต้องแยกให้ได้ คืออาการปวดข้อนั้นเป็นอาการปวดในข้อ (articular rheumatism) หรือเป็นอาการนอกข้อ (nonarticular rheumatism) ซึ่งเป็นอาการปวดของเอ็น ...
  • การตรวจรักษาอาการปวดข้อ (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 105 มกราคม 2531
    นอกจากอาการข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ และข้อนิ้วมือที่ได้กล่าวถึงในฉบับก่อนๆแล้ว อาการปวดข้อที่พบบ่อยคล้ายๆกันคือ อาการปวดข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า และข้อนิ้วเท้า ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไป5. ปวดข้อสะโพก : อาการปวดข้อสะโพกที่ไม่ฉุกเฉิน คืออาการปวดเมื่อยในข้อสะโพก เดินแล้วเจ็บในบริเวณสะโพก ทำให้เดินไม่ถนัดหรือเดินกะเผลก (ถ้าเจ็บมากจนเดินไม่ได้หรือขยับขาไม่ได้ หรือเกิดหลังหกล้มโดยเฉพาะในคนชรา ...
  • การตรวจรักษาอาการปวดข้อ (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 104 ธันวาคม 2530
    นอกจากอาการปวดไหล่ อาการปวดข้อที่ไม่ฉุกเฉินในบริเวณแขนที่พบบ่อย คือ2. ปวดข้อศอก : อาการปวดข้อศอกไม่ฉุกเฉิน คืออาการปวดข้อศอกที่ไม่มีอาการปวด บวม แดง ร้อนที่ข้อศอก หรือมีกระดูกหักบริเวณนั้น ผู้ป่วยกลุ่มที่ปวดข้อฉุกเฉินควรไปโรงพยาบาลส่วนอาการปวดข้อศอกแบบไม่ฉุกเฉิน ที่พบบ่อยที่สุด คือการอักเสบของเอ็นที่ยึดติดกับปุ่มกระดูกข้อศอกด้านนอก (ดูรูป) ที่เรียกกันว่า ข้อศอกนักเทนนิส (Tennis elbow) ...
  • การตรวจรักษาอาการปวดข้อ (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    ดังได้กล่าวไว้ในฉบับที่แล้วว่าอาการปวดข้อไหล่ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากการอักเสบที่ข้อโดยตรง ที่พบบ่อยนั้น มักเกิดจากการอักเสบที่ส่วนต่างๆดังต่อไปนี้คือ1.1 เอ็นอักเสบ (tendinitis) และเบาน้ำอักเสบ (bursitis) ซึ่งถ้าเป็นมากและเป็นอยู่นานๆจะเกิดหินปูนเกาะในบริเวณที่อักเสบ ซึ่งจะทำให้เห็นได้ในภาพรังสี หรือเอกซเรย์ของข้อไหล่โรคกลุ่มนี้มักจะเป็นในชายและหญิงวัยกลางคน พบบ่อยที่สุดระหว่างอายุ 40-45 ปี ...
  • คลอโรควินกับอาการปวดข้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    ผู้ป่วยโรคปวดข้อรูมาติซึมเคยรักษาด้วยยากลุ่ม NSAID แล้วไม่ได้ผล แต่เมื่อใช้คลอโรควิน ขนาด 250 มิลลิกรัม ปรากฏว่าอาการบรรเทาลงในขณะที่ยาคลอโรควินดูจะมีประสิทธิภาพในการรักษามาลาเรียน้อยลงทุกที เนื่องจากภาวการณ์ดื้อยาของเชื้อในแทบทุกส่วนของโลก ก็ปรากฏว่าได้มีความพยายามทดลองใช้ยานี้ในการรักษาอาการอื่นๆด้วย เช่น ได้มีการทดลองใช้ยาคลอโรควินในการรักษาโรคปวดข้อ (recurrent rheumatism) ...
  • การตรวจรักษาอาการปวดข้อ (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    อาการปวดข้อที่ฉุกเฉินคือ อาการปวดข้อที่มีอาการเจ็บหนักร่วมด้วยหรือมีอุบัติเหตุที่ทำให้ข้อนั้นใช้ไม่ได้ทันที ทั้งในด้านเคลื่อนไหวและการรับน้ำหนัก หรือมีอาการปวดบวมแดงร้อนที่ข้อนั้น ...
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa