Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • แอพลิเคชั่น DoctorMe
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ

ผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะ

  • หมอนรองกระดูกกับอาการปวดหลังจากการทำงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 328 สิงหาคม 2549
    หมอนรองกระดูกกับอาการปวดหลังจากการทำงานการบาดเจ็บจากการทำงานไม่ว่าจะเป็นการบาดเจ็บแบบเฉียบพลันและแบบค่อยเป็นค่อยไปนั้นป้องกันได้ ความรู้และความเข้าใจของคนทำงานมีส่วนสำคัญอย่างมาก เพื่อป้องกันตัวเองมิให้บาดเจ็บจากการทำงาน คนทำงานมักพบอาการปวดหลังได้บ่อย คนทั่วไปประมาณ ๑ ใน ๖ เคยมีอาการปวดหลังที่ต้องนอนพักอย่างน้อย ๑ ครั้งในชีวิต อาการปวดหลังส่วนใหญ่เกิดจากการทำงานและการใช้ชีวิตประจำวัน ...
  • ยืนทำงาน ออกกำลังอย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ยืนทำงาน ออกกำลังอย่างไรคนทำงานที่ต้องยืนนานมักประสบปัญหาอาการปวดน่อง เท้า และหลัง เป็นประจำ แถมด้วยอาการหลอดเลือดขอด ยืนทำงานมีผลเสียอย่างไรบ้างการยืนนานๆ จะส่งผลให้ร่างกายมีอาการผิดปกติ ดังต่อไปนี้ ๑.มีน้ำหนักกดอยู่ที่ฝ่าเท้าเป็นเวลานาน๒.กล้ามเนื้อน่องต้องทำงานตลอดเวลา๓.มีเลือดคั่งค้างอยู่ที่เท้า ...
  • คนกับงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ในตอนที่แล้วได้นำเสนอการออกกำลังเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของหัวใจและหลอดเลือด ในฉบับนี้ผู้เขียนขอนำเสนอวิธีการออกกำลังกายอีกแบบหนึ่งคือการออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อคนทำงานต้องมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและทนทาน เพื่อป้องกันอาการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานความแข็งแรง ...
  • คนทำงานออกกำลังอย่างไร (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    ทุกวันนี้คนทำงานตื่นตัวกันมากในเรื่องการออกกำลังกาย ใครไม่เป็นสมาชิกของสถานออกกำลังกายออกจะไม่อินเทรนด์ (ตกโลกแห่งความทันสมัย) ในตอนนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายชนิดต่างๆ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้แต่ละบุคคลชนิดของการออกกำลังกายชนิดของการออกกำลังกายมีการแบ่งหลายแบบแล้วแต่วัตถุประสงค์ ยกตัวอย่างเช่น แบ่งชนิดของการออกกำลังกายเป็น ๑) แบบส่วนบุคคล ๒) ...
  • ขับรถอย่างไรจึงไม่ปวด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ถึงหน้าเทศกาลและวันหยุดยาว การขับรถทางไกล และต้องอยู่บนถนนเผชิญกับการจราจรเป็นชั่วโมง วิธีการปรับที่นั่งขับรถเพื่อป้องกันอาการปวดที่อาจเกิดขึ้นในผู้ขับขี่ยานพาหนะเป็นระยะเวลานานเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งการนั่งขับรถต่างกับการนั่งเก้าอี้ธรรมดาอย่างไรถ้ารถที่ท่านขับอยู่นิ่ง การขับรถไม่ได้ต่างจากการนั่งเก้าอี้ธรรมดา แต่ขณะที่รถมีการเคลื่อนที่จะมีแรงกระทำต่อร่างกายในหลายทิศทาง ได้แก่ ...
  • เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ให้ปวด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 ธันวาคม 2548
    การเลี้ยงดูเด็กเป็นงานที่ละเอียดอ่อน เพราะความบอบบางของเด็ก คุณแม่ต้องคอยทะนุถนอมไม่ให้เด็กเป็นอันตราย ในขณะเดียวกันก็เป็นงานหนัก เนื่องจากต้องใช้แรงมากและทำอย่างต่อเนื่อง ...
  • ออกกำลังอย่างไรในคนทำงานคอมพิวเตอร์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ออกกำลังอย่างไรในคนทำงานคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ช่วยให้คนทำงานได้เร็วและมากขึ้น เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงใช้พลังงานเพียงน้อยนิดแต่ได้ผลงานออกมามาก การเคลื่อนนิ้วไปมาระหว่างแป้นพิมพ์หรือการใช้เมาส์ การเคลื่อนของศีรษะ ไปมาขณะทำงานใช้พลังงานน้อยมาก แต่ในแง่ของระบบร่างกายนั้น มนุษย์ต้องมีการเคลื่อนไหวไม่ใช่อยู่นิ่งเหมือนขณะใช้คอมพิวเตอร์ ยิ่งถ้ามีความเครียดมาประกอบกับงานที่ทำแล้ว ...
  • เข็มขัดรัดหลัง : จำเป็นหรือไม่ในคนทำงาน?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 313 พฤษภาคม 2548
    เข็มขัดรัดหลัง : จำเป็นหรือไม่ในคนทำงาน?ผู้เขียนได้ไปบรรยายหลายแห่งทั้งภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ หัวหน้าคนงาน รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ดูแลความปลอดภัยของโรงงาน หลายท่านได้เข้ามาคุยกับผู้เขียนว่า คนทำงานยกขนอยากจะใช้เข็มขัดรัดหลัง (Back belt) ในขณะทำงาน โอกาสผู้เขียนจึงขอเสนอความรู้เกี่ยวกับความจำเป็นในการใช้เข็มขัดรัดหลังในงานยกขนเข็มขัดรัดหลัง (Back belt) ที่ใช้ในคนทำงานดัดแปลงมาจากเฝือกพยุงเอว ...
  • ๗ ปัจจัยเสี่ยงบาดเจ็บจากการทำงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    การบาดเจ็บจากการทำงานแบ่งได้เป็น ๒ แบบ คือ แบบเฉียบพลันและแบบค่อยเป็นค่อยไป๑. แบบเฉียบพลัน เช่น ยกวัตถุแล้วมีอาการบาดเจ็บของหลังทันที การบาดเจ็บแบบนี้ บอกได้ง่ายว่าเกิดจากการทำงานเพราะเกิดอาการทันทีในขณะที่ทำงาน ๒. แบบค่อยเป็นค่อยไป การบาดเจ็บแบบนี้ มักหาสาเหตุไม่ได้ คนทำงานจะบอกไม่ได้ว่าเกิดอาการขึ้นเมื่อใด อาการเจ็บป่วยเช่นนี้ทำให้มีปัญหามาก โดยเฉพาะการตัดสินว่าเกิดจากการทำงานหรือไม่ ...
  • แบกอย่างไรไม่ให้เจ็บ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    แบกเป็นกิจกรรมที่ทำกันอยู่ทุกวัน แบกในที่นี้มาจากคำภาษาอังกฤษว่า carrying ซึ่งรวมถึง การเคลื่อนย้ายวัตถุในแนวราบด้วยการเดิน ไม่ว่าจะเป็นการถือวัตถุด้วยมือ หรือแบกด้วยบ่า คอ ไหล่ การหาบ ทูนวัตถุด้วยศีรษะ เป็นต้น การแบกสามารถก่อให้เกิดอุบัติเหตุขณะทำงานและเป็นสาเหตุให้เกิดการบาดเจ็บสะสมได้ เช่นเดียวกับการยก การดึงและดันวัตถุ แต่ที่สำคัญ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa