Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ผศ.ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ

ผศ.ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ

  • พร่องเอนไซม์ จี 6-พีดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    ถาม : เมธี/กรุงเทพฯ ลูกชายอายุ 22 ปีแล้วป่วยเป็นโรคจี 6-พีดี จะต้องให้ลูกเสริมอาหารและวิตามินอย่างไรบ้างตอบ : ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศภาวะพร่องเอนไซม์ จี6-พีดี (G6-PD : Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase) หรือรู้จักกันในชื่อ โรคแพ้ถั่วปากอ้า (favism) นอกจากนี้ยังต้องหลีกเลี่ยงการกินยาบางกลุ่มด้วย เช่น ยากลุ่มแอสไพริน ยาต้านมาลาเรีย ยากลุ่มซัลฟา เป็นต้น ดังนั้น จึงไม่ควรซื้อยากินเอง ...
  • ไม่อยากอ้วน... กินอย่างไรดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 366 ตุลาคม 2552
    ปัจจุบันหลายคนตระหนักดีว่า "อ้วน" มากเกินไปไม่ดีกับสุขภาพ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผอมมากจะดีกับสุขภาพน้ำหนักตัวที่พอดี ไม่อ้วนและผอมคงจะดีที่สุดที่ว่า "อ้วน" ไม่ดีกับสุขภาพนั้น เพราะทำให้มีความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และโรคปวดข้อต่างๆ ...
  • กินอย่างไรเมื่อเป็นไตวายเรื้อรังและรักษาด้วยการล้างไต

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ฉบับที่แล้วเราคุยกันถึงเรื่องการรู้จักกินเพื่อชะลอความเสื่อมของไตให้ได้นานที่สุด แต่ถ้าเราได้พยายามดูแลรักษาร่างกายด้วยการควบคุมอาหารและการให้ยาอย่างถึงที่สุด แต่ก็ยังไม่ได้ผลจนกระทั่งไตหมดสภาพการทำงาน ไม่สามารถขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายได้แล้ว การรักษาในขั้นต่อไปคือการล้างไต หรือการผ่าตัดเปลี่ยนไต ในฉบับนี้เราจะมาคุยกันต่อว่าถ้าผู้ป่วยอยู่ในภาวะไตวายเรื้อรังที่ต้องล้างไตแล้ว ...
  • กินอย่างไรเมื่อเป็นโรคไตเรื้อรัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    หน้าที่หลักของไตคือการกรองของเสียจากเลือดและขับถ่ายออกทางปัสสาวะ รวมทั้งรักษาดุลของน้ำ เกลือแร่และความเป็นกรดด่างของเลือด ปัจจุบันเรามักได้ยินคนรอบข้างพูดถึงโรคไตอยู่เสมอๆ ซึ่งขอทำความเข้าใจกับผู้อ่านแต่ต้นเรื่องว่าโรคไตเรื้อรังที่กำลังพูดถึงในฉบับนี้ เป็นอาการเริ่มต้นของโรคไตเรื้อรัง ...
  • กินอย่างไร เมื่อเป็นโรคตับแข็ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    โรคตับแข็งเป็นโรคเรื้อรังที่ทำให้เกิดการสูญเสียโครงสร้างของตับโดยปกติเนื้อตับจะนุ่ม แต่ถ้ามีอาการอักเสบหรืออันตรายต่อตับเนื้อตับจะถูกทำลายกลายเป็นพังผืดลักษณะคล้ายแผล"ตับ ไต ไส้ พุง" อวัยวะภายในที่สำคัญๆ ของเราทั้งนั้น โดยเฉพาะตับมีความสำคัญต่อร่างกายและสุขภาพของเราอย่างมากหน้าที่ของตับเปรียบเสมือนโรงงานใหญ่ที่คอยจัดการกับสารอาหารต่างๆ เมื่อคนเรากินเข้าไป ...
  • กินอย่างไรไม่ให้ซีดจากการขาดธาตุเหล็ก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ธาตุเหล็กเป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย แต่มีความสำคัญยิ่ง เนื่องจากธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงถ้าคุณรู้สึกว่าตัวเองมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ใจสั่น เบื่ออาหาร และหายใจลำบาก แถมผิวพรรณก็ดูซีดเซียวไม่มีน้ำมีนวลเหมือนเมื่อก่อน อาการที่คุณกำลังเป็นอยู่นั้นอาจมีสาเหตุมาจากการขาดธาตุเหล็กก็ได้รู้จักธาตุเหล็กธาตุเหล็กเป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย ...
  • กินอย่างไรเมื่อเป็นมะเร็ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    ในระยะแรกผู้ป่วยมะเร็งยังไม่มีปัญหาเรื่องการกิน จึงสามารถกินอาหารเหมือนคนปกติทั่วไป โดยเน้นการกินอาหารให้หลากหลายและครบหมวดหมู่ สะอาด ไม่มีสารปนเปื้อน และเลือกอาหารที่ย่อยง่าย ควรหลีกเลี่ยงอาหารมันและอาหารที่มีการปรุงแต่งมากฉบับที่แล้วได้รู้จัก “กินอย่างไร ห่างไกลมะเร็ง” ในฉบับนี้มารู้จักในอีกมุมหนึ่งของการกินอาหาร ว่ามีส่วนช่วยในการรักษา ...
  • กินอย่างไร ห่างไกลมะเร็ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    "มะเร็ง"Ž ได้ชื่อว่าเป็นโรคร้ายแรงที่หลายคนกลัว เพราะก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานและทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ง่าย การหลีกหนีจากโรคร้ายนี้จึงเป็นสิ่งหนึ่งที่ทุกคนปรารถนา ความจริงมะเร็งหรือเนื้องอกชนิดร้ายแรงนี้เป็นโรคที่ป้องกันและรักษาให้หายได้ ถ้าเริ่มจากการรู้จักดูแลตนเองให้ดี มีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต กินอาหารที่เหมาะสมและสมดุล ...
  • กินอย่างไรไม่ให้อ้วน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    กินอย่างไรไม่ให้อ้วนทำไมเราถึงอ้วนการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัวขึ้นอยู่กับความสมดุลของพลังงานที่ได้รับจากการกินอาหารและพลังงาน ที่ใช้ไปในการทำกิจกรรมต่างๆ ถ้าพลังงานที่ได้จากการกินอาหารมากกว่าพลังงานที่ใช้ไปในแต่ละวัน พลังงานที่มากเกินนั้นจะสะสมเป็นไขมันไว้ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย (body fat) ทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น ถ้าปล่อยให้เป็นเช่นนี้นานๆ จะเกิดโรคอ้วนตามมา เราจะทราบว่าอ้วนหรือไม่ ...
  • กินอย่างไรเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    กินอย่างไรเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุนหลายคนคงเคยได้ยินหรือได้เห็นมาว่า เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้นอาจมีปัญหาเรื่องตัวเตี้ยลง หลังค่อมจนเงยไม่ขึ้น ขาโก่งงอ หรือกระดูกหักง่าย ต้องระวังไม่ให้หกล้ม อาการเหล่านี้เป็นผลเกี่ยวเนื่องจากภาวะกระดูกพรุน คงไม่มีใครอยากมีอาการเช่นนี้ เราจึงควรมาเรียนรู้และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะกระดูกพรุนกันเถอะรู้จักโรคกระดูกพรุน โรคกระดูกพรุน หรือที่เรียกว่า osteoporosis ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa