-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
177
มกราคม 2537
หมอยาพื้นบ้านสมัยรุ่นคุณตายังหนุ่ม คุณย่ายังสาว การแพทย์ยังไม่เจริญก้าวหน้าเท่าปัจจุบันนี้ หากย้อนไปมองในยุคนั้นก็จะพบว่า แต่ละชุมชนมักจะมีผู้ที่มีความรู้เรื่องวิธีรักษาโรค รู้เรื่องยาดีที่สุด หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หมอยา“ ประจำอยู่ เมื่อเกิดอาการเจ็บไข้ได้ป่วยก็จะได้หมอยานี่แหละที่บรรเทาเบาบางอาหารเจ็บไข้ให้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
172
สิงหาคม 2536
การอยู่ไฟหลังคลอดคำว่า “อยู่ไฟ” นี้ดูเหมือนจะเป็นคำที่รู้จักคุ้นเคยกันดีในหมู่ผู้ที่เป็นแม่สูงวัยทั้งหลาย แต่อาจจะเป็นเรื่องล้าสมัยหรือคร่ำครึในทัศนะของคนหนุ่มสาว หรือแม้กระทั่งในหมู่บุคลากรสาธารณสุขการอยู่ไฟ เป็นการปฏิบัติของมารดาหลังการคลอดบุตรที่ถือปฏิบัติตัวกันมาหลายร้อยปีแล้ว โดยหญิงหลังคลอดจะต้องนอนผิงไฟตลอดเวลาบนกระดานไม้แผ่นเดียว อาบน้ำร้อน และดื่มเฉพาะน้ำร้อน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
171
กรกฎาคม 2536
เรื่องกล้วยๆเมื่อเอ่ยถึงกล้วย มีน้อยคนที่จะไม่รู้จักกล้วย เพราะกล้วยเป็นพืชเมืองร้อยที่คนไทยเราคุ้นเคยกันดี ไม่ว่าจะเป็นกล้วยน้ำว้า กล้วยหอม กล้วยไข่ กลัวยหักมุก หรือกล้วยพื้นบ้านภาคต่างๆ หากจะพูดถึงประโยชน์ของกล้วยแล้วจะเห็นว่ามีประโยชน์มากมาย โดยเฉพาะกล้วยน้ำว้าจัดเป็นกล้วยที่ให้ประโยชน์เกือบจะทุกส่วนเลยทีเดียว แม้แต่นักปราชญ์ชาวอินเดียในสมัยโบราณยังกล่าวว่า “กล้วยเป็นผลไม้แห่งปัญญา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
มิถุนายน 2536
มะกรูดบำรุงผมคุณค่าของมะกรูดในการบำรุงเส้นผมนั้นอาจเป็นสิ่งที่หลายๆ ท่านรู้กันดีอยู่แล้ว เพราะแม้กระทั่งผู้ผลิตยาสระผมบางรายยังใช้เป็นประเด็นในการโฆษณาว่า แชมพูของตนผสมมะกรูด มะกรูดไม่เพียงแต่ทำให้ผมดำเป็นเงางามเท่านั้น แต่ยังช่วยกำจัดรังแคแก้คันศีรษะ แก้ผมแตกปลายป้องกันผมร่วง และทำให้ผมหงอกช้า มะกรูดเป็นสมุนไพรธรรมชาติ จึงไม่ต้องกลัวแพ้เหมือนแชมพูที่ทำจากสารเคมี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
พิษแม่เมาะที่บ้านสบป้าด ชาวบ้านตื่นขึ้นมาพบว่า ใบไม้และพืชผักต่างๆ เป็นรูพรุนเหมือนถูกเผาจนเกรียมแม่จันทร์แก้ว อินทวงศ์ ซึ่งเป็นชาวบ้านอยู่ที่นั่น เล่าให้ฟังว่า ตอนเช้าฉันเปิดหน้าต่างก็ได้กลิ่นอะไรบางอย่าง ในตอนแรกฉันไม่ได้สนใจ คิดว่าเป็นเพราะฉันอายุมากแล้ว หรือไม่ก็เพราะอากาศกำลังเปลี่ยน แต่พอตอนหลังพวกเราก็รู้ว่ามันไม่ใช่เรื่องปกติแล้ว เพราะชาวบ้านหลายคนเริ่มมีอาการคล้ายกัน! ...