-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
86
มิถุนายน 2529
บิดมีตัว – บิดอะมีบา บิดอะมีบาเป็นโรคที่ลำไส้ใหญ่มีอาการอักเสบ ต้นเหตุของอาการอักเสบดังกล่าวก็คือ เชื้ออะมีบาที่มีชื่อเรียกว่า “เอนตามีบา ฮีสโตลัยติกา” (Entamoeba histolytica)⇒ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
85
พฤษภาคม 2529
อาหารเป็นพิษอาหารเป็นพิษ จะมีอาการถ่ายเหลว เนื่องมาจากการกินอาหารที่ไม่สะอาด แต่แท้ที่จริงแล้วคำว่า “อาหารเป็นพิษ” นั้น แต่ดั้งเดิมหมายถึงอาการท้องเสียที่เกิดขึ้นจากแบคทีเรียตัวหนึ่งชื่อสแตฟฟิโลคอคคัส เท่านั้นเชื้อสแตฟฟิโลคอคคัส เป็นเชื้อแบคทีเรียรูปร่างกลมย้อมติดสีกรัมบวก เป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่เป็นปกติที่ผิวหนังของเรา มักเป็นสาเหตุของหนองฝี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
84
เมษายน 2529
ร่างกายคนเราเป็นองค์เอกภาพของสมดุลต่างๆ การกิน ดื่ม และขับถ่าย การเสริมสร้างและทำลาย ฯลฯ ดุลยภาพเหล่านี้มีอยู่ระดับตั้งแต่เซลล์ที่เป็นหน่วยที่เล็กที่สุด จนถึงร่างกายทั้งหมดที่เป็นองค์รวม เมื่อดุลยภาพเหล่านี้เสียไป คนราก็เจ็บป่วย“กลไกการเกิดโรค” จะเล่าสู่กันฟังถึงกระบวนการที่ร่างกายสูญเสียดุลยภาพเหล่านี้และเกิดโรคขึ้น เรียกกันด้วยภาษาที่ยุ่งยากกว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
83
มีนาคม 2529
ร่างกายคนเราเป็นองค์เอกภาพของสมดุลต่างๆ การกิน ดื่ม และขับถ่าย การเสริมสร้างและทำลาย ฯลฯ ดุลยภาพเหล่านี้มีอยู่ตั้งแต่ระดับเซลล์ที่เป็นหน่วยที่เล็กที่สุด จนถึงร่างกายทั้งหมดที่เป็นองค์รวม เมื่อดุลยภาพเหล่านี้เสียไป คนเราก็เจ็บป่วย“กลไกการเกิดโรค” จะล่าสู่กันฟังถึงกระบวนการที่ร่างกายสูญเสียดุลยภาพเหล่านี้และเกิดโรคขึ้น เรียกกันด้วยภาษาที่ยุ่งยากว่า “พยาธิกำเนิด” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
82
กุมภาพันธ์ 2529
ร่างกายคนเราเป็นองค์เอกภาพของสมดุลต่างๆ การกิน ตื่น และขับถ่าย การเสริมสร้างและทำลาย ฯลฯ ดุลยภาพเหล่านี้มีอยู่ตั้งแต่ระดับเซลล์ที่เป็นหน่วยเล็กที่สุด จนถึงร่ากายทั้งหมดที่เป็นองค์รวม เมื่อดุลยภาพเหล่านี้เสียไป คนเราก็เจ็บป่วย“กลไกการเกิดโรค” จะเล่าสู่กันฟังถึงกระบวนการที่ร่างกายสูญเสียดุลยภาพเหล่านี้และเกิดโรคขึ้น เรียกกันด้วยภาษาที่ยุ่งยากว่า “พยาธิกำเนิด” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
81
มกราคม 2529
เป็นไข้ คนเราเจ็บป่วยไม่ใช่เพราะ “ถูกของ” แท้จริงร่างกายคนเราเป็นองค์เอกภาพของสมดุลต่างๆ การกิน ดื่ม และขับถ่าย การเสริมสร้างและทำลาย ฯลฯ ดุลยภาพเหล่านี้มีอยู่ตั้งแต่ระดับเซลล์ที่เป็นหน่วยที่เล็กที่สุด จนถึงร่างกายทั้งหมดที่เป็นองค์รวม เมื่อดุลยภาพเหล่านี้เสียไป คนเราก็เจ็บป่วย“กลไกการเกิดโรค”จะเล่าสู่กันฟังถึงกระบวนการที่ร่างกายสูญเสียดุลยภาพเหล่านี้และเกิดโรคขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
80
ธันวาคม 2528
ช่องคลอด มดลูก และรังไข่ช่องคลอด มดลูก และรังไข่ ทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งของอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศหญิง ที่จริงแล้วเรานับอวัยวะเพศหญิงกันตั้งแต่บริเวณหว่างขา รอบปากช่องคลอด รวมทั้งปากช่องคลอดซึ่งเป็นอวัยวะส่วนหนึ่งที่อยู่ภายนอกสามารถเห็นได้ ส่วนอวัยวะที่อยู่ภายในนั้น อยู่ถัดเข้าไป ได้แก่ ช่องคลอด ปากมดลูก มดลูก ปีกมดลูก และรังไข่ปากช่องคลอดประกอบด้วยกลีบเนื้อ 2 ชั้น ชั้นนอกเรียกว่า แคมใหญ่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
79
พฤศจิกายน 2528
อวัยวะแห่งความเป็นชายมนุษย์เป็นสัตว์โลกที่มีสองเพศ ผิดจากสัตว์ชั้นต่ำบางชนิดที่มีเพียงเพศเดียว การผสมพันธุ์เพื่อการสืบทอดเผ่าพันธุ์ของมนุษย์จึงต้องอาศัยสองเพศ มนุษย์สองเพศมีอวัยวะที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงผู้ชายก็มีอวัยวะสืบพันธุ์แห่งเพศชาย ผู้หญิงก็มีอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศหญิง อวัยวะทั้งสองชุดนี้มีลักษณะแตกต่างกัน และมีการทำงานที่แตกต่างกันไป ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
77
กันยายน 2528
ต่อมไร้ท่อ-ฮอร์โมน การทำงานของเซลล์ร่างกายนั้นถูกควบคุมให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ทั้งสองระบบนี้มีการทำงานเกี่ยวข้องกันอย่างแยกไม่ออก เปรียบเสมือนการสื่อสารนำคำสั่งของศูนย์บัญชาการไปยังอวัยวะต่างๆ เพื่อสั่งงานให้ส่วนของร่างกายนั้นๆ มีปฏิกิริยาตอบโต้กับสิ่งแวดล้อมภายนอก หรือความเปลี่ยนแปลงภายในร่างกายได้อย่างทันท่วงทีเหมาะสมการขยับเขยื้อนส่วนต่างๆ ของร่างกาย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
76
สิงหาคม 2528
น้ำเหลือง หาได้น่ารังเกียจน้ำเหลือง (Lymph) เป็นคำไทยที่ฟังดูแล้วน่าขนพองสยองเกล้า เนื่องจากเรารับรู้เรื่องน้ำเหลืองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผีๆสางๆ หรือกับคนที่ตายไปแล้ว หรือไม่เช่นนั้นก็เกี่ยวกับเรื่องของบาดแผลอักเสบเรื้อรังที่น่ารังเกียจความจริงน่าจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า น้ำเหลืองเสียใหม่โดยปกติในร่างกายของเราก็มีน้ำเหลืองอยู่ในตัว ...