รศ.นพ.อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
229
พฤษภาคม 2541
จากการสำรวจของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขพบว่าคนไทยเครียดมากขึ้นเพราะปัญหาเศรษฐกิจรุมเร้า คือ คนภาคใต้เครียดร้อยละ ๘๘.๘๙ ภาคกลางร้อยละ ๘๒.๖๔ ภาคเหนือร้อยละ ๘๒.๓๕ ภาคอีสานร้อยละ ๙๔.๔๔เห็นตัวเลขแล้วชักเครียดแล้วสิ ทำไมคนไทยเครียดมากมายปานนี้เชียวหรือ บางคนรู้ตัวหรือเปล่าว่าตนเองเป็นโรคเครียด เอ! แล้วเราเป็นโรคเครียดด้วยหรือเปล่านะ ยิ่งคิดยิ่งรู้สึกเครียดแฮะ โอ้ย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
177
มกราคม 2537
เริ่มต้นวิ่งอย่างมีท่าการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาแต่ละชนิด ย่อมมีวิธีการเล่นที่แตกต่างกันไป แต่ที่เป็นปัญหาสำหรับนักออกกำลังกายหน้าใหม่ คือ ไม่รู้วิธีหรือเคล็ดลับในการออกกำลังกายซึ่งบางครั้งอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บหรือไม่ประสบ ผลสำเร็จจนทำให้ผู้ออกกำลังกายหมดกำลังใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
91
พฤศจิกายน 2529
บุหรี่ : ข้อเท็จจริงที่ทั้งคนสูบและไม่สูบควรทราบท่านผู้อ่านทราบไหมครับว่า... บุหรี่แต่ละมวน ทำให้ผู้สูบอายุสั้นลง 18 นาที!การอยู่ในห้องที่มีคนสูบบุหรี่เพียง 1 ชั่วโมง ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่จะหายใจเอาควันบุหรี่เข้าไปในปอดเป็นปริมาณเท่ากับบุหรี่ 1 มวน! หญิงไม่สูบบุหรี่ที่แต่งงานกับชายสูบบุหรี่ จะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดมากกว่าหญิงไม่สูบบุหรี่ที่แต่งงานกับชายไม่สูบบุหรี่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
73
พฤษภาคม 2528
เทคนิคการวิ่ง ตอนที่ 14 (ต่อ)ครั้งก่อนๆ ผู้เขียนได้กล่าวถึง “เทคนิคการวิ่ง” ไว้ตามลำดับขั้นตอนต่างๆ คือขั้นแรก ขั้นของการทำใจและเตรียมตัวก่อนการเริ่มวิ่งขั้นที่สอง ขั้นของการยืดเส้นยืดสายขั้นที่สาม ขั้นของการเริ่มต้นวิ่งขั้นที่สี่ ท่านคือนักวิ่งสมบูรณ์แบบและครั้งที่แล้วถึงขั้นที่ห้า ควรสวมใส่เสื้อผ้าอย่างไรในการวิ่ง ซึ่งได้แยกย่อยออกเป็น 1. เสื้อ 2. กางเกง 3. ชุดชั้นใน 4. ถุงเท้า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
72
เมษายน 2528
ฉบับก่อนๆ ผู้เขียนได้กล่าวถึง “ เทคนิคการวิ่ง “ ไว้ตามลำดับขั้นตอนต่างๆ คือขั้นแรก ขั้นของการทำใจและเตรียมตัวก่อนการเริ่มต้นขั้นที่สอง ขั้นของการยืดเส้นยืดสายขั้นที่สาม ขั้นของการเริ่มต้นวิ่ง ขั้นที่สี่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
71
มีนาคม 2528
ฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวถึง “เทคนิคการวิ่ง” คือขั้นแรก ขั้นของการทำใจและเตรียมตัวก่อนการเริ่มต้นขั้นที่ 2 ขั้นของการยืดเส้นยืดสายขั้นที่ 3 ขั้นของการเริ่มต้นวิ่งและขั้นที่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
70
กุมภาพันธ์ 2528
หัวใจของการออกำลังกายด้วยการวิ่งนั้น สำคัญที่สุดก็อยู่ที่ตรงนี้นี่เองว่า“ทำอย่างไรการวิ่งนั้น จึงจะเป็นการวิ่งที่ถูกต้อง ถูกหลักวิธี เป็นการออกกำลังที่ให้คุณค่าให้ประโยชน์ต่อร่างกายอย่างแท้จริง”การวิ่งเพื่อสุขภาพในที่นี้ มิได้หมายถึงเพียงแค่การที่ท่านก้าวขาถี่ ๆ และพาตัวเองเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเรื่อยๆ เท่านั้น หากแต่ท่านจะต้องมีเทคนิควิธีการบางประการเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
69
มกราคม 2528
คำถามที่ผู้เขียนถูกถามบ่อยที่สุดจากท่านที่เริ่มวิ่งออกกำลังกายเพื่อสุขภาพก็คือ“วิ่งแค่ไหนจึงจะพอดี ?”ผู้ถามยังอยากทราบว่า หากต้องการวิ่งเพื่อสุขภาพควรจะวิ่งสัปดาห์ละกี่ครั้ง ? ระยะทางเท่าไร ?วิ่งด้วยความเร็วเท่าไร ?คำตอบก็คือ หากท่านประสงค์จะรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน ก็ควรจะออกกำลังกายอย่างน้อยไม่ต่ำกว่าสัปดาห์ละ 4-5 ครั้ง ๆ ละ ประมาณ 30 นาที ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
68
ธันวาคม 2527
คราวนี้ก็มาถึงเวลาของการวิ่งเหยาะ หรือจ๊อกกิ้งเสียที ! และอีกเพียง 3 เดือนจากนี้ไป ท่านจะสามารถวิ่งเหยาะรวดเดียวได้ไกลถึง 3 ไมล์ (หรือ 4.8 กม.) แถมจะใช้เวลาไม่มากนักในแต่ละวันเสียด้วยซิ“วิ่งเหยาะ” กับ “วิ่ง” นั้น ไม่เสียเวลาเท่าไร เพราะเป็นการออกกำลังกายที่มีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว หากต้องการผลประโยชน์ต่อร่างกายปริมาณเท่ากัน วิ่งเหยาะกับวิ่ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
67
พฤศจิกายน 2527
การเดินนั้นนับเป็นการเริ่มต้น ก้าวแรกของการวิ่ง...ไปสู่ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า แข็งแรงกว่า ที่ปลอดภัยที่สุด ถูกต้องตามหลักวิชาการเวชศาสตร์การกีฬามากที่สุด เรื่องป่วยน้อยที่สุด เจ็บปวดน้อยที่สุด และที่สำคัญคือเป็นการออกกำลังกายที่ง่ายที่สุดหลังจากที่ท่านได้ให้คะแนนและรวมคะแนนตัวเองในแบบประเมินระดับความฟิตของสุขภาพใน “หมอชาวบ้าน” ฉบับที่ 66 (ฉบับที่แล้ว) หน้า 90-92 แล้ว ...