นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
422
เดือน/ปี:
มิถุนายน 2557
โรงพยาบาล “สัปปายะ”“คับแคบ แออัด ร้อนอบอ้าว เหม็นกลิ่นยา ไม่มีรถโดยสารผ่าน ไปลำบากตอนกลางคืน ไม่มีที่จอดรถ หาอาหารการกินลำบาก เจ้าหน้าที่พูดจาไม่เพราะ นอนไม่ค่อยหลับเพราะหนวกหู เตียงเต็มต้องนอนระเบียง ห้องน้ำไม่สะอาด ฯลฯ” โรงพยาบาลใกล้บ้านท่านเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ?คำว่า “สัปปายะ” เป็นภาษาบาลี เป็นคำที่ปรากฏอยู่ในพระวินัยปิฎก ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
421
เดือน/ปี:
พฤษภาคม 2557
ครอบครัวแหว่งกลาง ปูเป้ เด็กชายวัย 4 ขวบวิ่งเล่นอยู่ในลานบ้านกับสุนัขตัวโปรด ขณะที่ตาแม้นและยายศรี นั่งอยู่บนแคร่หน้าบ้าน คุยกับเพื่อนบ้านอยู่ ขณะที่ผมเข้าไปแนนำตัวและทักทาย สองตายกุลีกุจอปัดกวาดแคร่ ขยับที่ทางให้ผมนั่งด้วย “พ่อกับแม่ปูเป้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
420
เดือน/ปี:
เมษายน 2557
ผู้อภิบาลลำสนธิ (Careteam) “ลุงๆระวังหล่นลงมานะ” เสียงตะโกนเตือนจากใต้ต้นไม้..... ผมมองขึ้นไป แทบไม่เชื่อสายตาตัวเองว่า ร่างที่ปีนลิ่วๆอยู่บนต้นสะเดาอย่างคล่องแคล่วข้างบนนั้น จะเป็นชายชราอายุ อานามปาเข้าไป ๖๕ ปีแล้ว ที่มีชื่อว่าลุงบุญธรรม ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
419
เดือน/ปี:
มีนาคม 2557
12 วิธีทำบุญให้โรงพยาบาลคนไทยเราเป็นคนมีจิตใจโอบอ้อมอารี มีรอยยิ้มอยู่บนใบหน้าเสมอ มีเมตตาธรรมเป็นเครื่องค้ำจุนอยู่ในหัวใจ นิยมการทำบุญด้วยการให้ทานและช่วยเหลือเผื่อแผ่สงเคราะห์ผู้อื่นอยู่เป็นนิจ ในที่นี้ผมอยากให้ข้อเสนอวิธีการทำบุญแบบใหม่ นอกเหนือจากการทำบุญกับวัด (ทอดกฐิน, ทอดผ้าป่า, ถวายสังฆทาน, ตักบาตร), ทำบุญกับผู้ยากไร้ด้วยการให้ทานบริจาค, ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
418
เดือน/ปี:
กุมภาพันธ์ 2557
มุมมองส่องหลักประกันศาสตราจารย์ Anne Mills รองผู้อำนวยการ London School of Hygiene & Tropical Medicine แห่งประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในการศึกษาวิจัยระบบเศรษฐศาสตร์สุขภาพ และระบบสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลาย ได้รับการเชื้อเชิญให้มาประชุมในประเทศไทยเมื่อเร็วๆนี้ ท่านได้ติดตามและมีส่วนช่วยเหลือการพัฒนาระบบการเงินการคลังของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
416
เดือน/ปี:
ธันวาคม 2556
คุณค่าของขยะ“วารินชำราบ แปลว่า น้ำซาบซึมซับ เป็นหนึ่งในอำเภอที่มีชื่อไพเราะที่สุดในประเทศไทย”เทศบาลวารินชำราบ ต้องรับผิดชอบขน และจัดการขยะ ในพื้นที่ของตนเองประมาณวันละ ๒๕ ตัน แต่ที่เป็นตัวหลักเลยคือ ขยะจากเทศบาลนครอุบลราชธานี ถึงวันละ ๘๐ ตัน นอกจากนั้น ยังมีขยะจาก อบต. และเทศบาลในอำเภออีก ๔-๕ อำเภอ ที่ส่งมายังพื้นที่กลบฝัง และแยกขยะในตำบลคูเมือง ...