Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คุยกับหมอไพโรจน์

คุยกับหมอไพโรจน์

  • ปีกมดลูกอักเสบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    ปีกมดลูกอักเสบ เป็นอาการที่มักจะได้ยินกันบ่อยๆ ในบรรดาสตรีที่มีอาการปวดท้องน้อย มักเข้าใจว่าเป็นอาการอักเสบ อาการปวดท้องน้อยเป็นอาการที่พบบ่อยในสตรี ต้องแยกโรคที่เกิดกับอวัยวะต่างๆ เช่น อวัยวะระบบทางเดินอาหาร อาจเป็นลำไส้อักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ อวัยวะระบบทางเดินปัสสาวะ (เช่นการเป็นโรคของกระเพาะปัสสาวะหรือมีการอักเสบของท่อไต) ปวดกล้ามเนื้อหน้าท้อง เส้นเอ็น ผิวหนัง นอกจากนี้ ...
  • มะเร็งปากมดลูก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 366 ตุลาคม 2552
    "มะเร็งปากมดลูก" คือโรคสตรีที่สามารถเฝ้าระวังได้และเป็นหนึ่งในจำนวนโรคไม่กี่โรคที่เป็นการตรวจร่างกายประจำปี มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดของมะเร็งในหญิงไทย รองลงมาคือมะเร็งโพรงมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งรังไข่สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกนั้นปัจจุบันพบว่าเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (human papilloma-HPV) ชนิด 16 และ 18 เป็นส่วนใหญ่ดังนั้น หญิงที่มีคู่นอนหลายคน ...
  • ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 1669

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 365 กันยายน 2552
    ที่ผ่านมาการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินมีลักษณะเป็นการตั้งรับที่โรงพยาบาลเป็นส่วนสำคัญ โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยได้ไปถึงห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลแล้วการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล หมายถึง การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บรุนแรงจากจุดเกิดเหตุมาส่งโรงพยาบาล โดยผู้ป่วยฉุกเฉินหรือผู้บาดเจ็บรุนแรงได้แก่ผู้ประสบอันตรายในขั้นที่เป็นอันตรายถึงกับชีวิต หรือในระดับที่แพทย์ต้องรับตัวไว้รักษา ณ ...
  • อุ้มบุญ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 364 สิงหาคม 2552
    ในที่สุดร่างกฎหมายอุ้มบุญ ก็ได้ผ่านการพิจารณาจากสำนักงานกฤษฎีกาแล้ว ยังมีขั้นตอนที่จะต้องดำเนินการต่อไปอีกในรัฐสภา ในขณะที่คู่สมรสบางคู่หรือคุณแม่บางคนตัดสินใจคุมกำเนิดหรือทำหมันเพราะไม่ต้องการมีบุตรหรือตัดสินใจทำแท้ง แต่ก็มีใครบางคนหรือคู่สมรสบางคู่กลับต้องการบุตรมากเหลือเกิน ปัจจุบันเทคโนโลยีช่วยในการเจริญพันธุ์สามารถสนองความต้องการ ได้มากขึ้น ...
  • คุณเอาหัวหรือก้นออก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 363 กรกฎาคม 2552
    เคยมีเรื่องที่ถามกันใ วงสนทนาสนุกๆว่าเมื่อตอนคุณคลอดออกมาจำได้หรือไม่ว่า คุณเอาหัวหรือเอาก้นออก หมายความว่า คุณคลอดท่าหัวหรือท่าก้นคำถามที่สูติแพทย์มักถูกคุณแม่ถามเสมอก็คือ " ลูกกลับหัวหรือยัง " ท่าของทารกในครรภ์จึงมีความสำคัญต่อการคลอด นอกจากสูติแพทย์จะใช้วิธีคลำทางหน้าท้องประกอบกับการใช้หูฟัง (stethoscopes) เพื่อจะให้รู้ว่าทารกอยู่ในท่าไหน ...
  • ครรภ์แฝดสำคัญไฉน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 362 มิถุนายน 2552
    ครรภ์แฝด หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีทารกในครรภ์ตั้งแต่2 คนขึ้นไป แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกันเรียกว่าแฝดเหมือน และแฝดที่เกิดจากไข่คนละใบได้รับการปฏิสนธิพร้อมๆ กันในสังคมที่มองเห็นเด็กแฝดเป็นเรื่องที่น่ารักน่าสนใจ เมื่อเราเห็นเด็กน่ารัก 2 คน ซึ่งมีใบหน้าและการแต่งตัวเหมือนกัน ก็จะรู้สึกเอ็นดู ปลื้มใจ หรืออิจฉาคุณแม่ของเด็กแฝดทั้งสองบางครอบครัวถึงกับขอให้แพทย์ช่วยให้ตั้งครรภ์แฝดด้วยซ้ำไป ...
  • ทำแท้งเถื่อนมีผลอย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    จากข่าวที่ปรากฏตามหน้าหนังสือพิมพ์และสื่อแขนงต่างๆ ว่า กระทรวงสาธารณสุข ได้เข้าบุกทำลายคลินิกทำแท้งเถื่อน มีเห็นกันอยู่แทบทุกเดือน ในฐานะเป็นแพทย์จึงขอให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับเรื่องการทำแท้งเถื่อนการทำแท้ง ก็คือการทำให้แท้งลูก ทำให้ลูกออกมาก่อนกำหนดโดยไม่มีชีวิตอยู่นั่นเอง การทำแท้ง เป็นการยุติการตั้งครรภ์ระยะแรกที่ทารกในครรภ์มารดามีอายุครรภ์ก่อนจะถึงวัยที่สามารถคลอดมีชีวิตได้ (viable) ...
  • ภาวะมดลูกแตก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 360 เมษายน 2552
    มดลูกแตกเป็นภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้นได้จากการตั้งครรภ์และการคลอด โดยมีอัตราการเกิดภาวะดังกล่าวน้อยกว่า 1 ต่อ 2,000 รายของหญิงตั้งครรภ์ภาวะที่ผนังมดลูกแตกหรือปริออก ทำให้ตกเลือดเข้าไปในช่องท้องเป็นจำนวนมาก ทารกในครรภ์และน้ำคร่ำอาจหลุดออกจากมดลูกเข้าไปในช่องท้อง ทารกจะเสียชีวิตในครรภ์ ภาวะเลือดออกมากอาจทำให้มารดาบางรายเสียชีวิตด้วย ส่วนมากมักเกิดขึ้นในระยะเจ็บครรภ์ ...
  • ลูกของฉันครบ 32

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 359 มีนาคม 2552
    ตอนที่แล้วได้เขียนถึงภาวะทารกในครรภ์ผิดปกติเนื่อง จากโรคดาวน์ซินโดรมซึ่งไม่ได้ถ่ายทอดทางพันธุกรรม เกิดจากความผิดปกติในการแลกเปลี่ยนโครโมโซมทำให้จำนวนโครโมโซมเกินมา 1 อัน และโรคทาลัสซีเมียซึ่งเป็นความผิดปกติของยีนที่อยู่บนแท่งโครโมโซมและถ่ายทอดทางพันธุกรรม ฉบับนี้จะกล่าวถึงความผิดปกติของยีนการตั้งครรภ์แต่ละครั้งของหญิงตั้งครรภ์ที่ใส่ใจค้นหาความรู้ด้วยตนเองทางอินเทอร์เน็ต ...
  • ลูกของฉันครบ 32 หรือเปล่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 358 กุมภาพันธ์ 2552
    รูปชั่ว ตัวดำ ไม่สวยหรือไม่หล่อ ถึงจะเป็นอย่างไร ผู้เป็นพ่อเป็นแม่ก็รักลูกเสมอ เพราะลูกคือดวงใจของพ่อแม่ คือความหวัง คือทุกสิ่งทุกอย่าง แม้ลูกบางคนจะไม่เคยดูแลบุพการีเลย แต่ด้วยความรักที่มีต่อลูก ที่อุ้มท้องมา 9 เดือน ก็เพราะอยากจะเห็นหน้าของลูกเราว่าเขาจะเป็นอย่างไรแม่แทบทุกคนล้วนรักลูกของตน เป็นกฎธรรมชาติ ในการขยายเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าแม่จะต้องทนต่อความเหนื่อยกาย ลำบากใจ ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa