Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » การรักษาพื้นบ้าน

การรักษาพื้นบ้าน

  • การอาบอบสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    การอาบอบสมุนไพรการอาบอบสมุนไพรนั้น สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งนอกเหนือจากขั้นตอนวิธีการอาบอบซึ่งได้เสนอไปแล้วนั้นก็คือ ตัวยาสมุนไพรที่นำมาใช้ต้มตัวยาที่ใช้ต้มประกอบด้วยสมุนไพรใหญ่ๆ 4 พวกพวกที่ 1 เป็นสมุนไพรสดหรือแห้งที่มีพวกน้ำมันหอมระเหยอยู่ คนเข้ากระโจมจะสูดดมน้ำมันหอมระเหยนี้เข้าไป ถ้าสามารถหาของสดๆได้จะดีกว่าของแห้ง ...
  • การอาบ อบสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 120 เมษายน 2532
    สมัยก่อนการแพทย์แผนปัจจุบัน ยังไม่เจริญ การคลอดบุตรใช้หมอตำแยทำการคลอดที่บ้าน ต่อมาเมื่อการแพทย์เจริญขึ้นก็มีผดุงครรภ์ช่วยทำการคลอด เมื่อคลอดแล้วนิยมอยู่กระดานไฟหรือเรียกว่าอยู่ไฟ บางคนใช้การอยู่ชุด 7-10 วัน คนโบราณ เชื่อกันว่ายิ่งอยู่ไฟหรืออยู่ชุดได้นาน ๆ ยิ่งดี เพราะความร้อนที่ได้รับ ...
  • การอาบอบสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    การอาบอบสมุนไพร เป็นวิธีการใช้สมุนไพรสดหรือแห้งหลาย ๆ ชนิดต้มกับน้ำ ใช้ไอน้ำที่ระเหยออกมาอบตัว และนำน้ำที่ต้มสมุนไพรนั้นมาอาบเพื่อใช้รักษาโรคและอาการบางชนิด เช่น โรคผิวหนัง แก้ปวดเมื่อย ปวดข้อ และเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาคนไข้ที่ติดยาเสพติด นอกจากนั้นยังช่วยลดความอ้วนและอื่น ๆ การอาบอบสมุนไพรนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยใช้กับสตรีหลังคลอดเรียกว่า “การเข้ากระโจม” ...
  • ข้อควรระวัง ในการอบสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    เมื่อปี พ.ศ. 2529 ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอดปากเกร็ด ได้บอกผมว่าอยากจะเปิดสอนที่อบสมุนไพรขึ้นที่ศูนย์ ด้วยเหตุผลว่าอยากจะช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อยให้มีสุขภาพดี ผมจึงบอกเขาว่าอย่าเปิดเลยดีกว่า เพราะปัจจุบันนี้วัดหลายแห่งก็เปิดสถานอบสมุนไพร แต่ผมไม่ทราบว่าสถานที่เปิดบริการอบสมุนไพรนั้น เขาอาจจะนึกแต่ผลได้ แต่ผลเสียเขาจะนึกถึงกันหรือไม่ ถ้าข้อเขียนของผมไปทำให้เจ้าของสถานที่ ...
  • อาหารชาวใต้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 99 กรกฎาคม 2530
    ถ้าเปรียบเทียบอาหารทางเหนือกับทางใต้แล้วออกจะต่างกันทีเดียว เพราะทางเหนือจะออกไปทางเครื่องเทศมาก และรสไม่เผ็ดจัด ในขณะที่อาหารทางใต้จะต้องมีรสเผ็ดนำ อาหารแทบทุกอย่างจะใส่ขมิ้น ถ้าเป็นแกงก็จะปรุงด้วยส้มมะขามเปียกเป็นหลักอาหารทางใต้มีทั้งประเภทของทะเลและพืชผักต่างๆ ถ้าเป็นอาหารพื้นเมืองทั่วๆไปขะออกรสเผ็ดจัด ประกอบด้วยพริก เครื่องเทศ และปลาเป็นส่วนใหญ่ เพราะทางใต้ล้อมรอบด้วยทะเลทั้งสองฟากฝั่ง ...
  • อาหารเหนือ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    คนที่ไปเที่ยวเชียงใหม่เชื่อแน่ว่าจะต้องหาโอกาสไปลองลิ้มชิมรสอาหารทางเหนือกันบ้าง เมื่อไปสัมผัสอาหารทางเหนือท่านทราบหรือไม่ว่าเป็นอาหารประเภทใด มีคุณประโยชน์มากไหม ใช้เป็นยารักษาโรคได้หรือไม่ผู้เขียนได้ไปสัมผัสกับชีวิตทางเหนือมาบ้าง แต่ปีนี้โอกาสมีน้อย การเดินทางไปเหนือไปได้แค่นครสวรรค์ก็ต้องกลับมาทำธุรกิจในกรุงเทพฯ แต่ข้อมูลต่างๆได้มีเพื่อนทางเหนือได้ส่งมาให้คือ คุณอัมพร ณ ลำปาง ...
  • เครื่องดื่มสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    น้ำรากบัวเครื่องปรุง รากบัวจีนหรือพันธุ์เชียงใหม่ 1 กก. น้ำตาลทรายขาววิธีทำนำรากบัวจีนหรือพันธุ์เชียงใหม่มา 1 กก. ให้เลือกชนิดที่อวบขาว ใช้สันมีดขูดผิวออก ล้างน้ำให้สะอาด หั่นเป็นแว่นตามขวาง ใส่หม้อ ใส่น้ำพอประมาณ ต้มเคี่ยวประมาณ 10-15 นาที หากต้มนานเกินไปน้ำจะไม่ใส จะมีสีแดง แล้วนำกากรากบัวออกใส่น้ำตาลพอหวานหรือหวานตามใจชอบ ใช้ดื่มร้อนหรือเย็นก็ได้ ...
  • เครื่องดื่มสมุนไพร (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 96 เมษายน 2530
    เครื่องดื่มสมุนไพร (ต่อ)มาอีกครั้งตามรายการคุณขอมา...ผู้อ่านหลายท่านบอกว่าอยากได้สูตรปรุงเครื่องดื่มสมุนไพรอีก ที่ลงในฉบับที่แล้วนั้นยังน้อยไป ไม่จุใจเสียเลย มาฉบับนี้ผมก็สนองข้อเสนอของคุณผู้อ่านแล้ว... เชิญปรุงดื่มกันได้เลย หน้าร้อนอย่างนี้เหมาะนัก ...
  • เครื่องดื่มสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 95 มีนาคม 2530
    เครื่องดื่มสมุนไพรขึ้นชื่อว่า สมุนไพรแล้ว คนไทยส่วนใหญ่รู้จักมักคุ้นกันเป็นอย่างดี เพราะอาหารประจำวันมีสมุนไพรเป็นส่วนประกอบแทบทั้งสิ้น เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด มะนาว หัวหอม หัวกระเทียม พริกไทย กระชาย เป็นต้น บทบาทของสมุนไพรนอกจากจะนำมาเป็นส่วนประกอบของอาหารแล้ว บางชนิดยังสามารถนำมาปรุงเป็นเครื่องดื่มดับกระหาย คลายเหนื่อยได้เป็นอย่างดี ...
  • สมุนไพรในครัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 93 มกราคม 2530
    สมุนไพรในครัวลองมองสำรวจไปรอบๆห้องครัวหน่อยเถอะครับ...คุณผู้อ่านเห็นอะไรบ้างห้องครัวในบ้านนั้น แท้จริงแล้วดูจะเป็นแหล่งสมุนไพรเราดีๆนี่เอง เพราะเครื่องปรุงอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พริก หอม กระเทียม น้ำปลา ข่า ขิง ตะไคร้ ฯลฯ ล้วนแล้วแต่มีสรรพคุณทางยาทั้งนั้น มาดูกันสิครับ กระชาย มีรสเผ็ดร้อน ใช้แก้โรคในปาก ขับระดูขาว แก้ใจสั่นหวิว ส่วนหัวกระชายมีรสสุขุม แก้ปวดมวนในท้อง บำรุงกำลัง ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa