Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » การรักษาพื้นบ้าน

การรักษาพื้นบ้าน

  • ตอนที่ 3 ( เพลินพันธุ์ไม้ )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 ตุลาคม 2529
    ตอนที่ 3 ( เพลินพันธุ์ไม้ )หลังจากสวดมนต์ก่อนนอนแล้วล้มตัวลงนอน หลับตาทำจิตใจให้ว่างเพื่อที่จะได้หลับได้ง่าย พลันก็ได้กลิ่นหอมเย็นๆของเครื่องกระแจะจันทน์ ซึ่งเครื่องกระแจะจันทน์นั้นเป็นน้ำหอมหรือน้ำปรุงของชาวชนบทในสมัยโบราณ เพราะในสมัยนั้นยังไม่มีเครื่องปรุงน้ำหอมหรือแป้งประเทืองผิวเสริมความงามเหมือนอย่างในปัจจุบัน อันเครื่องหอมน้ำปรุงนั้น จะประกอบด้วยเปลือกชลูด เปลือกต้นกำยาน ...
  • ตอนที่ 2( น้ำพริกมื้อเย็น )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    ตอนที่ 2( น้ำพริกมื้อเย็น )หลังจากพูดคุยอยู่กับเจ้าของบ้านผู้อารีแล้ว ก็ขออนุญาตเดินชมต้นไม้รอบๆบ้าน ซึ่งก็ได้รับความกรุณา และท่านเจ้าของบ้านก็พาเดินชมไปด้วย พร้อมกันนั้นก็ได้อธิบายถึงคุณประโยชน์ต่างๆของต้นไม้ที่ได้หามาปลูกเองบ้าง บางต้นก็ขึ้นเองตามธรรมชาติก้าวแรกที่ได้เหยียบพื้นดินด้านซ้ายมือก็พบเข้าแล้ว ต้นมะลิ ซึ่งนอกจากดอกให้กลิ่นหอมแล้ว ยังนำไปบูชาพระได้อีก ...
  • ตำรายาพื้นบ้าน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    หนึ่งในปัจจัยสี่ที่จำเป็นในการครองชีพให้อยู่รอดมาได้จนกระทั่ง ทุกวันนี้ก็คือยารักษาโรค เข้าใจว่าประชาชนชาวไทยได้ใช้สมุนไพรเป็นยาบำบัดรักษาโรคมาเป็นเวลาช้านาน หากแต่ไม่มีหลักฐานที่ปรากฏให้ทราบได้ชัด เราเพิ่งมีหลักฐานเมื่อวัฒนธรรมของประเทศอินเดียขยายเข้ามาสู่ประเทศไทย นอกจากศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีแล้ว ยังนำเอายารักษาโรคเข้ามาด้วย ซึ่งมีหลักฐานแน่ชัดตามคัมภีร์อายุเวทของอินเดีย ...
  • ปู่สอนหลานให้เป็นหมอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 69 มกราคม 2528
    ปู่สอนหลานให้เป็นหมอนี้ ผู้เขียนมีเป้าหมายที่จะให้ความรู้แก่ผู้ที่จะสอบหมอแผนโบราณ หรือเภสัชโบราณ โดยการเขียนสิ่งละอันพันละน้อย ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มีอยู่วันหนึ่งหลานถามว่า คำว่าหมอที่เขาเรียกกันนั้นมีหมออะไรบ้างครับ ปู่ตอบว่า ที่ชาวบ้านใช้เรียกกันมีดังนี้“หมอความ” ชอบว่าความในเรื่องครอบครัวหรือคนที่ทะเลาะวิวาทกันให้เกิดความยุดติธรรม“หมอดู” ได้แก่ ...
  • การรักษาริดสีดวงทวารแบบโบราณ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 ตุลาคม 2527
    เช้านี้ มีคุณป้าคนหนึ่ง เป็นลูกค้าประจำที่ร้าน ได้มาซื้อยาแกเคยเป็นริดสีดวงทวารหนักมาก่อน เมื่อถูกถามว่าริดสีดวงทวารที่เป็นอยู่เป็นอย่างไรบ้าง แกก็เล่าใหญ่เลยว่า“ นี่ ลูกเอ๊ย! ป้าจะเล่าให้ฟังไว้เป็นวิทยาทานนะ คือว่าตอนที่น้ำท่วมหนักปีกลายโน้น ป้าเป็นเริมที่บริเวณช่องคลอด และยังเป็นริดสีดวงทวารเจ็บมากที่สุดเท่าที่เคยเป็นมา นี่ป้าก็อายุ 60 กว่าเข้าไปแล้ว เพิ่งจะเป็นครั้งนี้ ...
  • อาบอบสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 61 พฤษภาคม 2527
    ความหมายของคำว่า “อาบอบสมุนไพร” คือการใช้สมุนไพรหลาย ๆ ชนิดต้มน้ำและนำไอน้ำและน้ำนั้นมาอบอาบ จะทำให้เส้นสายที่ตึงเครียดหย่อนคลายลง ด้วยไอน้ำสมุนไพรการอาบอบสมุนไพรที่ทำกันอยู่ปัจจุบัน ได้ดัดแปลงมากจนกลายเป็นการ “อาบอบนวดสมุนไพรประยุกต์” ขนานแท้และดั้งเดิมนั้นไม่มีพิษมีภัย มีแต่ประโยชน์ สมควรที่จะส่งเสริมการอาบอบสมุนไพรมีมานานแล้ว ...
  • มะขาม ยาถ่ายใกล้มือ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    ทุกคนและสัตว์มีชีวิตอยู่ได้ก็ด้วยอาหาร ว่ากันตรงๆ ก็คือ ต้องกินนั่นเอง ถ้ากินไม่ได้หรือไม่ได้กินก็ต้องตายเป็นที่รู้ๆ กันอยู่ แต่ถ้ากินได้กินดี แล้วไม่ยอมถ่ายสักทีก็จะตายอีก การถ่ายจึงเป็นของคู่กับการกิน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้สาเหตุแห่งการถ่ายไม่ได้หรือไม่ออกนั้น เราเรียกกันว่า “ท้องผูก” ได้แก่อึแข็งนั่นเอง ต้นเหตุของท้องผูกมีหลายประการ เช่น กินอาหารไม่มีการอาหาร ไม่ชอบกินผักผลไม้ ...
  • สมุฎฐานตามฤดู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 มีนาคม 2527
    ตำราแพทย์แผนโบราณกาลวางหลักไว้ว่า สมุฏฐานที่ทำให้เกิดโรค มีส่วนสัมพันธ์กับ ฤดูที่หมุนเวียนไปในปีหนึ่งๆ ด้วย ท่านว่าฤดู คือ อากาศหรืออุณหภูมิภายนอกร่างกายเปลี่ยนแปลง เป็นฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ปีนึ่งมีสามฤดู ฤดูละ 4 เดือน นับตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 4 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 จัดเป็นฤดูร้อน หรือคิมหันตฤดู ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เอน 8 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 จัดเป็นฤดูฝนหรือ วสันตฤดู ตั้งแต่แรง 1 ค่ำ ...
  • ใบตำลึงแก้พิษบุ้งชะงัดนัก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 59 มีนาคม 2527
    ผู้ที่มีชีวิตคลุกคลีอยู่กับต้นไม้ใบหญ้า หลายคนคงจะรู้จักถึงพิษสงของบุ้งดี บุ้งก็คือตัวหนอนที่มีขนหนาๆ นั่นแหละ มีทั้งตัวเล็กตัวใหญ่ สีสันก็แตกต่างกัน บางชนิดก็สวยงามน่าจับต้อง แต่อย่าไปแตะต้องเข้าเชียว เพราะพิษสงที่ขนของมันร้ายกาจมาก ไม่ว่าตัวเล็กหรือตัวใหญ่ สัมผัสผิวหนังเราเข้าเป็นคันเขยอ ยากที่จะหายาแก้มันได้บุ้งบางชนิดก็ชอบเกาะล้อมวงกันเป็นหมู่ ส่วนมากชอบอยู่ใต้ใบไม้ ...
  • โรคทุราวสา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 57 มกราคม 2527
    โรคทุราวสา คือ โรคเกี่ยวกับน้ำปัสสาวะเป็นสีต่างๆ 4 อย่าง ตามคัมภีร์แพทย์แผนโบราณ มีอาการปัสสาวะออกมาเป็นสีต่างๆ เจ็บปวดหัวหน่าว ปวดเมื่อตมร่างกาย แสบร้อนตามทางเดินปัสสาวะ มีไข้สะบัดร้อน สะบัดหนาว ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ไม่มีกำลัง เส้นเอ็นตึง อาการไข้มีบ้างบางเวลา แต่ไม่มีปวดท้องปัสสาวะไม่มีเม็ดกรวด เม็ดทราบ ปัสสาวะไม่ขัด หมอโบราณกล่าวว่าเป็นน้ำปัสสาวะพิการ หรือน้ำมูตรที่ชั่วร้าย ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ข่าว
  • ข่าวสารจากเลขาธิการแพทยสภา
  • คนกับงาน
  • คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
  • ครอบครัว
  • คลินิกจิตแพทย์
  • ความรู้เรื่องยา
  • คอลัมน์พิเศษในเล่ม
  • คัมภีร์ชีวิต
  • คำคมทางการแพทย์
  • คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป
  • คุยกันทางวิทยุ
  • คุยกันเรื่องยา
  • คุยกับ หมอ 3 บาท
  • คุยกับผู้อ่าน
  • ‹‹
  • 2 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa