Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ข่าว

ข่าว

  • ข้อเท็จจริงเรื่อง แอปดูดเงิน VS สายชาร์จดูดเงิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 01 มกราคม 2566
    ช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมามีข่าวที่สร้างความตกใจให้แก่ประชาชนทั่วไป หลังจากสื่อหลักส่วนใหญ่นำเสนอข้อมูลของผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง ที่อยู่ดี ๆ ยอดเงินในบัญชีก็ถูกโอนออกจากมือถือไปเป็นจำนวนสูงถึงหนึ่งแสนกว่าบาท เกิดเป็นการตั้งคำถาม และข้อสังเกตจากบุคคลสาธารณะว่า อาจจะเป็นเพราะสายชาร์จที่มีการดัดแปลงไว้ใช้สำหรับการแฮ็กข้อมูล ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงที่มีการผลิตสายชาร์จประเภทนี้ขึ้นมา ...
  • เรื่องที่ต้องรู้ก่อนเข้าพักที่ไหนควรเช็คอะไรบ้าง และวิธีเอาตัวรอดเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 005 มีนาคม 2565
    ถือว่าเป็นอีกหนึ่งข่าวดังที่สร้างแรงกระเพื่อมการตระหนักรู้ให้กับสังคมสำหรับเหตุการณ์เพลิงไหม้โรงแรมหรูระดับ 6 ดาว ที่อำเภอเกาะกูด จังหวัดตราด ซึ่งสร้างความเสียหายไม่ใช่แค่ทรัพย์สินแต่ยังส่งผลถึงสภาพจิตใจและอาการบาดเจ็บที่เกิดกับร่างกายของผู้ที่รอดชีวิตจากเหตุเพลิงไหม้ด้วยวันนี้เราจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดสังเกตที่ต้องเช็คเพื่อความปลอดภัยก่อนเข้าที่พักเพื่อที่เราจะได้มั่นใจว่า ...
  • อาหารเสริมคุณหรือโทษ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 223 ตุลาคม 2540
    อาหารเสริมคุณหรือโทษเมื่อเร็วๆนี้ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล จัดการประชุมวิชาการเรื่อง “รับประทานอาหารเสริมคุณหรือโทษ” โดยมี ม.ล.ศิริเฉลิม สวัสดิวัฒน์ และเภสัชกรสรจักร ศิริบริรักษ์ เป็นวิทยากรเนื่องจากคนหันมาสนใจสุขภาพกันมากขึ้น และมีความคิดว่าการป้องกันจะดีกว่า จึงได้พยายามสรรหาผลิตภัณฑ์ต่างๆมาเพื่อเสริมสุขภาพ ...
  • ปัญหาโรคเลือดจางในหญิงมีครรภ์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    ปัญหาโรคเลือดจางในหญิงมีครรภ์สาเหตุการตายของมารดาและทารก สามารถป้องกันและแก้ไขได้ ถ้ามารดาให้ความสนใจและมาฝากครรภ์กับเจ้าหน้าที่ตามสถานบริการสาธารณสุขนายมารุต บุนนาค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขชี้แจงว่า งานพัฒนาคนเป็นสิ่งที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ คือ งานอนามัยแม่และเด็ก เนื่องจากยังมีอัตราตายของมารดาและทารกจากการคลอดสูง โดยมีอัตราตายของมารดาประมาณ 0.3 ราย ต่อการคลอด 1,000 ราย ...
  • โรคขาดสารไอโอดีน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    โรคขาดสารไอโอดีนโรคขาดสารไอโอดีน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะทำให้เกิดอาการคอพอก สติปัญญาด้อย และร่างกายเจริญเติบโตช้า ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศโรคนี้มีสาเหตุมาจากความบกพร่องของสภาพภูมิประเทศ โดยดินและน้ำของภาคเหนือมีสารไอโอดีนน้อยกว่าภาคอื่นๆ 4 เท่า ประกอบกับประชาชนในภูมิภาคนี้มีโอกาสบริโภคอาหารทะเลน้อยมาก โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ห่างไกลการคมนาคม ...
  • อย.ทำดีถอนทะเบียนตำรับยาไม่ปลอดภัย 3 ฉบับรวด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    อย.ทำดีถอนทะเบียนตำรับยาไม่ปลอดภัย 3 ฉบับรวดจากการที่ประเทศไทยมีตำรับยาสูตรผสมมากมายที่ประชาชนสามารถหาซื้อมาใช้ได้อย่างพร่ำเพรื่อ ซึ่งอันที่จริงควรมีการพิจารณาเพิกถอนทะเบียนตำรับยาที่ไม่เหมาะสมส่วนใหญ่เสีย เพื่อให้ประชาชนหันมาใช้ยาเดี่ยวกัน จะได้รับความปลอดภัยในการใช้ยามากขึ้น แต่กลไกของรัฐฯ ที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการพิจารณาในเรื่องนี้ ...
  • โรคผิวหนังจากการทำงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    โรคผิวหนังจากการทำงานผู้ป่วยในเขตอุตสาหกรรมมักเป็นโรคที่มีสาเหตุมาจากการทำงาน คือ อุบัติเหตุ พิษจากสารเคมี โรคระบบทางเดินหายใจและโรคผิวหนังจากอาชีพต่างๆนายแพทย์สุจินต์ ผลากรกุล อธิบดีกรมการแพทย์ และนายแพทย์เสกสม สุวรรณกร ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ร่วมกันชี้แจงเกี่ยวกับโรคผิวหนังจากการทำงานว่า โรคนี้ส่วนใหญ่มักเกิดที่มือ เพราะมือจะต้องใช้สัมผัสกับสารต่างๆการสัมผัสกับสารเคมีเป็นเวลานานๆ ...
  • สิทธิบัตรยา มาตรการชั่วคราวกับทางออกของประเทศไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    สิทธิบัตรยา มาตรการชั่วคราวกับทางออกของประเทศไทยกลุ่มองค์กรพัฒนาจับมือร่วมกับสถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ ออกโรงพิทักษ์ผลประโยชน์ของคนไทยในเรื่องสิทธิบัตรยา เสนอให้รัฐบาลนำเรื่องสิทธิบัตรยาเข้าพิจารณาในสภา และควรเร่งขยายการให้ความรู้แก่ประชาชนและเน้นที่การให้ความคุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวกับเรื่องยา นักศึกษาหลายสถาบันเคลื่อนไหวร่วมกันออกแถลงการณ์คัดค้านมาตรการชั่วคราว ...
  • อย.เตือนระวังลิปสติกไม่ได้มาตรฐาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    อย.เตือนระวังลิปสติกไม่ได้มาตรฐานสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เตือนผู้ใช้ลิปสติกทาริมฝีปาก ควรเลือกซื้อลิปสติกที่ผลิตอย่างได้มาตรฐานจากแหล่งที่เชื่อถือได้ และต้องมีฉลากครบถ้วนถูกต้อง หากใช้แล้วเกิดอาการแพ้ให้หยุดใช้ทันทีนายแพทย์ประชา เอมอมร เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า เนื่องจากลิปสติกเป็นเครื่องสำอางที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาไม่ได้ควบคุม ...
  • เลิกกินแอปเปิ้ล กินผลไม้ไทยดีกว่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    เลิกกินแอปเปิ้ล กินผลไม้ไทยดีกว่ากระทรวงสาธารณสุขสั่งเก็บผลแอปเปิ้ลเพื่อตรวจหาสารอะล่าร์ ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งสารอะล่าร์ ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า ดามิโนไซด์ ถูกค้นพบและใช้กันมานานกว่า 20 ปีแล้วในการเกษตร เพื่อชะลอการเจริญเติบโตของลำต้น เร่งการออกดอก ป้องกันการร่วงหล่นของผลก่อนสุก และยืดอายุการเก็บรักษาของผลไม้ภายหลังการเก็บเกี่ยวสารอะล่าร์สามารถตกค้างอยู่ในแอปเปิ้ลได้นานถึง 100 วัน ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa