Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ข่าว

ข่าว

  • วิธีป้องกันโรคหัวใจขาดเลือด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    ศ.น.พ.พิชัย ตันไพจิตร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี กล่าวว่า หากร่างกายได้รับโคเลสเตอรอลในปริมาณมากเกินไปจะทำให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือดได้ เนื่องจากหลอดเลือดแดงแข็ง ผู้ป่วยอาจจะถึงแก่กรรมเมื่อเป็นโรคนี้ตั้งแต่แรกที่บ้าน มาถึงโรงพยาบาลอาจถึงแก่กรรมระหว่างการรักษา พวกที่หายกลับบ้านก็ไม่สามารถประกอบกิจการงานตามปกติได้ บางรายมีอาการแสดงออกทางร่างกาย เช่นมีปื้นเหลืองที่ผิวหนัง ...
  • ยาต้านเอดส์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    คณะกรรมการอาหารและยา มีมติให้นำยาเข้ารักษาโรคเอดส์ 2 ตำรับ ทั้งยาฉีดและยากิน ผู้ป่วยต้องจ่ายค่ายาปีละ 2 แสนบาทแต่ไม่หายขาด แค่ยับยั้งไวรัสไม่ให้ขยายตัวเท่านั้น ยานี้เป็นพิษต่อเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวน.พ.ประชา เอมอมร เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาเผยว่า คณะกรรมการอาหารและยาได้มีมติให้บริษัท เวลคัมฟาวเดชั่น ประเทศไทย จำกัด ขึ้นทะเบียนนำเข้ายารักษาโรคเอดส์ 2 ตำรับ ซึ่งมีตัวยาไซโดซูดิน ...
  • อันตราย วัยรุ่นอดอาหารลดความอ้วน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    รศ.น.พ.ยงยุทธ วัชรดุลย์ แห่งภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โทปิดิกส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เปิดเผยว่าปัจจุบันมีเด็กนักเรียนและเด็กวัยรุ่นที่อายุยังไม่ถึง 20 ปี จำนวนมาก พยายามอดอาหาร เพราะอยากผอมและนิยมการมีรูปร่างเหมือนนางแบบ ซึ่งการจำกัดอาหารในวัยนี้แทนที่จะเป็นผลดีกลับเป็นผลเสียมากกว่า เนื่องจากเป็นวัยที่ร่างกายยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ...
  • ฟาสต์ฟู้ด อาหารกินเร็วเพื่อตายเร็ว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 101 กันยายน 2530
    องค์การอนามัยโลกเรียกฟาสต์ฟู้ดว่า “อาหารขยะ” เพราะมีคุณค่าทางอาหารไม่เหมาะสมนายแพทย์หทัย ชิตานนท์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า อาหารฟาสต์ฟู้ดที่มีส่วนประกอบด้วยไขมัน แป้ง และน้ำตาล หากกินมากเกินไปอาจมีผลร้ายต่อสุขภาพ เพราะอาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคหัวใจ เบาหวาน หรือความดันโลหิต แม้จะเป็นโรคไม่ติดต่อแต่ก็กำลังเป็นปัญหาในประเทศที่กำลังพัฒนาหลายประเทศอาหารดังกล่าวได้แก่ โดนัท พิซซ่า ...
  • ยาแก้ปวด-ลูกกลอน อันตราย! มีแต่ทำลายชีวิตผู้ป่วยโรคข้ออักเสบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 101 กันยายน 2530
    เมื่อเดินพฤษภาคมที่ผ่านไป คณะแพทย์จากสาขาต่างๆคือ แพทย์โรคข้อ โรคกระดูก เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศัลยแพทย์ และบุคลากรด้านสาธารณสุข รวมกลุ่มจัดตั้งชมรมโรคข้อขึ้น เพื่อเป็นสื่อกลางให้ความรู้และวิธีปฏิบัติตนที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อ ซึ่งนับวันมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ เพราะประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจโรคนี้ดีพอจึงมักรักษากันผิดๆ จนในที่สุดต้องพิการและทุพพลภาพ หรือถึงแก่ชีวิตได้ชมรมโรคข้อประกอบด้วย ...
  • เตือนดมกลิ่นพวงมาลัยอันตราย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    นักวิชาการการเกษตรจังหวัดนครปฐมเผยว่า ปัจจุบันนครปฐมมีการปลูกต้นมะลิมากที่สุดกว่า1,000 ไร่ อยู่ในอำเภอนครชัยศรี ชาวสวนผู้ปลูกจำเป็นต้องใช้ยาฆ่าแมลงฆ่าหนอนที่กัดกินดอกตูมและใบอ่อนจนไม่สามารถนำดอกไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งบางครั้งชาวสวนไม่ได้ใส่เครื่องป้องกันสูดดมยาเข้าไป ถึงกับสลบอย่างไรก็ตาม เมื่อตรวจพบว่าสารเคมีที่พบในเลือดยังไม่ถึงขีดอันตราย ...
  • พบผู้ป่วยด้วยโรคจากโรงงานเพิ่มขึ้น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    ผู้ป่วยด้วยโรคจากโรงงานอุตสาหกรรม และการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นทุกปี รัฐยังแก้ไขไม่ได้นายแพทย์สุจินต์ พลากรกุลรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข และนายแพทย์ศุภชัย ฤกษ์งาม นายแพทย์ 7 จากกองระบาดวิทยา ร่วมกันแถลงว่า ปัจจุบันประเทศไทยกำลังพัฒนาด้านอุตสาหกรรมมากขึ้น และแรงงานภาคเกษตรกรรมก็เริ่มกระจายตัวออกไปสู่ภาคอุตสาหกรรม ทำให้เกิดปัญหาต่างๆในโรงงาน ...
  • ปลาน้ำจืด พยาธิตัวจี๊ดหลายชนิดมี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    ดร.จุมพล สวัสดิยากร เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เปิดเผยว่า มีการวิจัยพบพยาธิตัวจี๊ดในปลาน้ำจืดหลายชนิด หากเข้าไปอยู่ในส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์อาจะเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้เรื่องนี้สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ให้ทุนสนับสนุนแก่ น.ส.รัตนาภรณ์ เกษมสุทธิ์ และคณะจากคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้ดำเนินการวิจัยจากการวิจัยด้วยการให้ปลาหมอเทศ ...
  • มาเลย์สั่งถอนยาอันตราย “ไดไพโรน” ติดกลุ่มด้วย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    มาเลย์สั่งถอนยา 9 รายการออกจากตลาด ระบุเป็นยาอันตรายวารสารสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สคบ.สาร ฉบับที่ 88 เมษายน 2530รายงานว่า กระทรวงสุขภาพแห่งมาเลเซีย (MoH) ได้สั่งห้ามยาที่เป็นพิษ 9 รายการ ยาดังกล่าวเป็นยาที่ใช้ในการรักษาอาการปวดและกระตุ้นความอยากอาหารอันเป็นผลมาจากความพยายามของกลุ่มผู้บริโภคแห่งมาเลเซีย ยาที่สั่งห้ามได้แก่ 1. ฟีนาเซติน (phenacetin) 2. แอนติไพริน (antipyrine) 3. ...
  • เผยหลอดกาแฟพลาสติกคุณภาพต่ำ มีสารพิษปน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    เตือนอันตรายหลอดกาแฟพลาสติก ตรวจพบร้อยละ 93 คุณภาพต่ำ มีสารพิษเจือปนวารสารสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สคบ.สาร ฉบับที่ 87 มีนาคม 2530 รายงานว่า จากการสำรวจหลอดกาแฟที่ทำด้วยพลาสติกสีสันต่างๆของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปรากฏว่า หลอดกาแฟ 42 ตัวอย่าง มีคุณภาพดีเพียง 3 ตัวอย่าง นอกจากนั้นประมาณร้อยละ 93 มีคุณภาพต่ำ โดยได้ตรวจพบสารที่อาจเป็นพิษปะปนติดมากับพลาสติก ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • บทบรรณาธิการ
  • บทสัมภาษณ์พิเศษ
  • บนเส้นทางชีวิต
  • บริหารกายคลายปวดเมื่อย
  • บริหารร่างกาย
  • บอกเล่าเก้าสิบ
  • บันทึกการเดินทาง
  • บันทึกจากผู้อ่าน
  • บันทึกสุขภาพดีทั่วหน้า
  • บันทึกเวชกรรม
  • บุคลิกภาพ
  • ประสบการณ์รอบทิศ
  • ปริศนาคลินิก
  • ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
  • ปัจฉิมพากย์
  • ‹‹
  • 5 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)< และสถาบัน ChangeFusion< พัฒนาระบบโดย Opendream< สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa <