Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » กันไว้ดีกว่าแก้

กันไว้ดีกว่าแก้

  • หัวใจล้มเหลวจากการขาดวิตามินบี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    หัวใจล้มเหลวจากการขาดวิตามินบีเมื่อกลางเดือนมกราคม 2533 ที่ผ่านมา ผมและเพื่อนคนไทย 6 คน ได้มีโอกาสไปร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้กับแพทย์ในสาขาระบาดวิทยานานาชาติที่ประเทศเม็กซิโก มีรายงานสอบสวนโรคหลายชิ้นที่น่าสนใจ แต่มีรายงานหนึ่งที่ผมคิดว่าพี่น้องชาวไทยที่จะไปทำงานต่างประเทศ โดยเฉพาะทางตะวันออกกลางจำเป็นต้องทราบเรื่องมีอยู่ว่า ในเดือนมิถุนายนของปี 2532 ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงริยาด ...
  • มลพิษในอากาศของกรุงเทพฯ มาเที่ยวได้แต่อย่าหายใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    มลพิษในอากาศของกรุงเทพฯ มาเที่ยวได้แต่อย่าหายใจในวันเฉลิมพระชนมพรรษาขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในเดือนธันวาคมที่ผ่านมา พระองค์ได้รับสั่งถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งได้ทรงแสดงออกซึ่งความเป็นห่วงของพระองค์ท่านต่อสุขภาพของปวงชนชาวไทยว่า มนุษย์ต้องมีสิ่งแวดล้อมที่ดีจึงจะมีชีวิตเป็นปกติ ...
  • สะพานข้อมูลไทย-ลาว (ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    สะพานข้อมูลไทย-ลาว (ตอนจบ)ผมทิ้งค้างเอาไว้ว่าจะไปจัดหลักสูตรการฝึกอบรมให้แก่แพทย์ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แพทย์ของเขามี 3 ชั้น คือ แพทย์ชั้นสูง เทียบเท่ากับแพทย์บ้านเรานี้เอง แพทย์ชั้นกลางหรือแพทย์ผู้ช่วย ที่เมืองไทยไม่ได้สร้างบุคลากรแขนงนี้ และแพทย์ชั้นต้น คือ พยาบาล นั่นเองในหลักสูตรก็มีผู้มาร่วมอบรมทั้ง 3 ชั้น โดยส่วนใหญ่เป็นแพทย์ชั้นสูง ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็คือ ...
  • สะพานข้อมูลไทย-ลาว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    สะพานข้อมูลไทย-ลาวในครั้งที่แล้วผมได้เกริ่นเอาไว้ถึงระบบเฝ้าระวังโรคของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป.ล.) ว่าเขามีความพยายามที่จะเริ่มทำแบบใหม่ แต่ไม่สำเร็จ ผมก็พยายามวิเคราะห์ว่าต้องมีปัญหาอะไรแน่ จึงทำให้การริเริ่มหลายครั้งหลายครา ประสบความล้มเหลวปัจจัยหลักที่ผมคิดว่าเป็นไปได้มาก คือ ผู้เชี่ยวชาญที่มาเป็นที่ปรึกษาให้เขา ...
  • สะพานข้อมูลไทย-ลาว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    สะพานข้อมูลไทย-ลาวสำหรับคอลัมน์กันไว้ดีกว่าแก้ฉบับนี้ของหมอชาวบ้าน ผมขออนุญาตพาท่านผู้อ่านออกนอกเรื่องอีกสักฉบับนะครับ คือ ต้นฉบับนี้เขียนขึ้นในขณะที่ผมรับมาทำหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญระยะสั้นให้แก่องค์การอนามัยโลก ระหว่างวันที่ 1-31 สิงหาคม 2531 ณ นครเวียงจันทน์ เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป.ล.) ซึ่งมีคำขวัญของประเทศว่า (เป็นตัวอักษรลาวค่ะ) แปลเป็นไทยว่า “สันติภาพ ...
  • อาหารเป็นพิษ เรื่องง่ายที่เล่นยาก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 125 กันยายน 2532
    อาหารเป็นพิษ เรื่องง่ายที่เล่นยาก2 สัปดาห์ก่อนการเขียนต้นฉบับนี้ ผมได้ไปร่วมกับคณะสอบสวนโรคของกองระบาดวิทยา ออกทำการสอบสวนการระบาดของอาหารเป็นพิษ ในหอพักนักเรียนชาวเขาแห่งหนึ่งที่จังหวัดเชียงราย และถัดมาอีก 1 สัปดาห์ ก็ทราบว่ามีการระบาดของอาหารเป็นพิษเกิดขึ้นอีกในโรงเรียนอีกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครการระบาดครั้งแรก มีการนำไปลงหนังสือพิมพ์ พาดหัวข่าวซะใหญ่โตว่าเป็น “อาหารมฤตยู” ...
  • เอดส์ : ชายไทยแท้ไม่เที่ยวโสเภณี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 124 สิงหาคม 2532
    เอดส์ : ชายไทยแท้ไม่เที่ยวโสเภณีเอดส์หรือโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องเป็นโรคที่เราได้ยินข่าวมากที่สุดในระยะ 3-4 ปีนี้ (ในเมืองไทย) แต่ผมไม่แน่ใจว่าเรามีความตระหนักถึงภัยร้ายจากโรคนี้มากน้อยเพียงใด และถ้าตระหนักเราจะกันไว้ดีกว่าแก้ได้อย่างไร เอดส์ไม่ใช่ปัญหาเฉพาะเรื่องส่วนตัวของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นปัญหาของสังคมโดยส่วนรวมเชื้อไวรัสเอดส์เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไปทำลายระบบภูมิคุ้มกันอย่างถาวร ...
  • สุขบัญญัติของผู้ใหญ่ในวันนี้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    สุขบัญญัติของผู้ใหญ่ในวันนี้เมื่อเอ่ยถึงสุขบัญญัติแล้ว เกือบทุกคนคงจะนึกวาดภาพว่าเป็นเรื่องที่สอนเด็กนักเรียนเล็กๆ ให้ได้รู้และปฏิบัติตาม ในต้นเดือนมกราคมที่ผ่านมากระทรวงสาธารณสุขร่วมกับคณาจารย์ต่างๆ ได้จัดประชุมเพื่อปฏิรูปสุขบัญญัติของเด็กให้มีความเหมาะสมกับสภาพชีวิตปัจจุบันให้มากขึ้น แต่เรื่องที่จะนำมาเล่าสู่กันฟังวันนี้เป็นสุขบัญญัติเหมือนกัน ...
  • ตะกั่ว : พิษร้ายที่รอบตัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 120 เมษายน 2532
    คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน ...
  • วัณโรคปอด : โรคแห่งวรรณะ ??

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 119 มีนาคม 2532
    คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa