คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
397
พฤษภาคม 2555
ทารกเพศหญิงอายุครรภ์ ๒๕ สัปดาห์ น้ำหนักแรกเกิด ๖๔๐ กรัม แม่มีประวัติน้ำเดิน ๒ วันก่อนคลอด หลังคลอดหมอบอกว่าเป็นการแท้งลูก ทารกไม่สามารถมีชีวิตรอดได้ ญาติจึงนำทารกน้อยใส่กล่องออกจากโรงพยาบาล เตรียมการประกอบพิธีศพ เรื่องของเด็กหญิงกล่องเมื่อถึงบ้านหลังคลอดได้ ๕ ชั่วโมง ญาติพบว่าทารกร้องและยังคงหายใจอยู่ จึงนำทารกน้อยกลับไปที่โรงพยาบาลอีกครั้ง แพทย์รับไว้ดูแลรักษาจนอายุ ๑๒ วัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
395
มีนาคม 2555
การให้บริการอาหารคนไข้ เพื่อให้ได้อาหารที่สะอาด มีสารอาหารครบถ้วน พอดีกับความต้องการของร่างกาย และเหมาะสมกับภาวะโรค เป็นงานหนึ่งที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จในการรักษาพยาบาลฝ่ายโภชนาการฝ่ายโภชนาการเป็นหน่วยงานหนึ่งของโรงพยาบาล รับผิดชอบผลิตและให้บริการอาหารคนไข้ ตามหลักโภชนศาสตร์ ดำเนินการเรื่องโภชนบำบัด ครอบคลุมการคัดกรองและดูแลภาวะโภชนาการ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
393
มกราคม 2555
คนไข้โรคเรื้อรังที่พบบ่อยในบ้านเรา ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดที่มีอาการหอบหืดคนไข้โรคเรื้อรังคนไข้โรคเหล่านี้ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุข ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการดูแลรักษาคนไข้กลุ่มนี้ เนื่องจากเป็นโรคที่รักษาไม่หายคนไข้จะมีอาการกำเริบ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เช่น เบาหวานอาจเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำเฉียบพลัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
391
พฤศจิกายน 2554
ประสบการณ์การดูแลคนไข้จิตเวช โดยทีมผู้ให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชของโรงพยาบาลชุมชนเล็กๆ แห่งหนึ่งในภาคอีสาน ที่สะท้อนความคิดที่มีคุณค่าทั้งของผู้ให้การรักษาและของคนไข้สิทธิที่หายไปคนไข้จิตเวชหญิงวัยกลางคน หายออกจากบ้าน ญาติต้องออกตามหาและมาพบเธอที่เมรุเผาศพ ญาติพาเธอมารักษาที่โรงพยาบาล และเล่าให้พยาบาลผู้รักษาฟังว่า เธอชอบหนีออกจากบ้านเป็นประจำ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
390
ตุลาคม 2554
โรงพยาบาลชุมชนขนาด ๓๐ เตียง แห่งหนึ่งในภาคเหนือ เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการใช้สารเคมีทำลายเชื้อโรคที่มีผลกระทบต่อระบบน้ำเสีย เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนผู้ป่วยและชาวบ้านใกล้เคียง ชุมชนโดยรอบใช้สารเคมีทำการเกษตร และพื้นที่ว่างเปล่าของโรงพยาบาลปลูกพืชไม่ได้ผล เพราะดินไม่มีคุณภาพน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ไขปัญหานอกจากปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมแล้ว โรงพยาบาลยังประสบปัญหาด้านการเงิน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
389
กันยายน 2554
การทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลกับชุมชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ประชาชนอยู่ดี กินดี สุขภาพดี มีความสุขสุขภาพดีเริ่มที่บ้านการรักษาคนไข้ที่โรงพยาบาลเป็นปลายทางของการดูแลสุขภาพ หากไม่มีการส่งเสริมสุขภาพที่ดี ไม่มีการป้องกันการเจ็บไข้หรือการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆ คนไข้ต้องเข้าๆ ออกๆ โรงพยาบาล จนหมอและพยาบาลมีงานล้นมือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
383
มีนาคม 2554
ลูกหลานของคนในชุมชน ที่ได้รับเลือกและให้ทุนไปเรียนพยาบาล เรียนจบกลับมาทำงานที่บ้านเกิด เป็นพยาบาลชุมชน เป็นที่พึ่งของญาติพี่น้อง และเป็นความหวังใหม่ของระบบสุขภาพไทยพยาบาลขาดแคลน การแพทย์และการสาธารณสุขของไทยพัฒนาด้านวิชาการและเทคโนโลยีสู่ระดับนานาชาติ ประกอบกับการปรับเปลี่ยนระบบการให้บริการและการจ่ายค่ารักษาพยาบาล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
382
กุมภาพันธ์ 2554
คนไข้โรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลรักษาที่โรงพยาบาลแห่งนี้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุข แม้ว่าคนไข้บางคนจะอยู่ในช่วงวาระสุดท้ายของชีวิตโรงพยาบาลรักษาโรคมะเร็ง โรงพยาบาลแห่งนี้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคมะเร็งขนาด ๔๐๐ เตียง แต่ปัจจุบันสามารถรับคนไข้ได้ ๘๘ เตียง ให้บริการรักษาคนไข้มะเร็งด้วยรังสีรักษา ยาเคมีบำบัด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
381
มกราคม 2554
การรักษาพยาบาลจะได้ผลดี นอกจากแพทย์ พยาบาล และทีมงานที่ร่วมดูแลคนไข้จะวินิจฉัยโรค ให้การรักษาพยาบาลถูกต้องแล้ว ยังต้องรู้จักตัวตนของคนไข้ด้วยสัมผัสเยียวยาคน คุณหมอท่านหนึ่งเล่าว่า วันหนึ่งเห็นคนไข้ที่เป็นอัมพาตทั้งตัว (แขนและขาอ่อนแรงทั้ง ๒ ข้าง) มาทำกายภาพบำบัด โดยคนไข้นั่งบนรถเข็น คุณหมอเพิ่งพบคนไข้เป็นครั้งแรก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
385
มกราคม 2554
โครงการนี้เกิดจากแนวคิดที่ต้องการสร้างโอกาสให้ผู้ติดเชื้อเอดส์กับผู้ที่ไม่ติดเชื้อร่วมกันประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว และทำให้ผู้ติดเชื้อเอดส์อยู่ในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจจุดเริ่มต้นโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวคิดในการดูแลผู้ติดเชื้อเอดส์อย่างเป็นองค์รวม โดยใช้กลยุทธ์การมีส่วนร่วมของชุมชนทุกภาคส่วน เพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอดส์เป็นที่พึ่งของตนเอง ...