Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก

คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก

  • เตรียมความพร้อมเพื่อสร้างหัวใจที่อยากดูแล...

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 355 พฤศจิกายน 2551
    กระแสโลกาภิวัตน์ทุนนิยมคุกคามไปทั่วทุกวงการ ไม่เว้นแม้แต่วงการแพทย์ วัฒนธรรม "ยาขอหมอวาน" ไทยแท้แต่โบราณจางหายไป ความเจริญทางเทคโนโลยีควบคู่มากับผลตอบแทนทางธุรกิจ หลายครั้งที่เราได้ยินคำว่าแพทย์พาณิชย์ ซึ่งกระทบทั้งความรู้สึกของสังคมแพทย์และประชาชนทั่วไป สถาบันผลิตแพทย์ในประเทศไทยต่างตื่นตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ...
  • เจาะใจคุณหมอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    ทุกวันนี้มีข่าว ความขัดแย้งระหว่างหมอกับคนไข้ปรากฎอยู่บ่อยๆ ส่วนมากเป็นผลจากความไม่พึงพอใจของคนไข้และญาติต่อหมอและโรงพยาบาลบางครั้งคนไข้เกิดภาวะแทรกซ้อน คนไข้บางคนถึงขั้นพิการตลอดชีวิต เกิดเป็นคดีฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายนับสิบล้านบาทจนเป็นข่าวเอิกเกริกคุณหมอบางท่านต้องถูกยึดใบประกอบโรคศิลป์ ถึงขั้นถูกสั่งปิดคลินิกหรือสถานพยาบาลก็เคยมี มีบางคดีหมอถึงกับถูกตั้งข้อหาว่ามีส่วนในการจ้างฆ่าคนไข้ ...
  • เรียกหาพยาบาล

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    อันพวกเราเหล่านักเรียนพยาบาล ปณิธานอนุกูลเพิ่มพูนผล เรียนวิชากรุณาช่วยปวงชน ผู้เจ็บไข้ได้พ้นทุกข์ทรมาน แม้โรคร้ายจะแพร่พิษถึงปลิดชีพ จะยึดหลักดวงประทีปคือสงสาร ยอมเหนื่อยยากตรากตรำใจสำราญ อุทิศงานเพื่อคนไข้ทั้งใจกายคือส่วนหนึ่งของบทเพลงมาชร์นักเรียนพยาบาล ซึ่งซึมซับอยู่ในความเป็นพยาบาลของทุกคนการขาดแคลนพยาบาลในขณะที่ความต้องการพยาบาลมีมากขึ้น เพราะคนไข้มากขึ้น ...
  • นางฟ้าตัวจริง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    คนที่ใกล้ชิดกับคนไข้ที่นอนรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลมากที่สุดคือ พยาบาล ซึ่งให้การดูแลตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืนพยาบาลให้การรักษาพยาบาลร่วมกับแพทย์ปฏิบัติการต่อคนไข้ต่างๆ พยาบาลมีส่วนมากกว่าแพทย์เสียอีก ไม่ว่าจะเป็นการแทงเข็มเข้าเส้นเลือด เพื่อเจาะเลือดไปตรวจ การให้น้ำเกลือ การให้เลือด การฉีดยา กินยา ให้ออกซิเจน ทำแผลการดูแลอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการป้อนอาหาร ให้อาหารทางท่อ ดูแลการขับถ่าย ...
  • เบาหวาน น้ำตาลเป็นพิษ (2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    แม้แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ และคณะเจ้าหน้าที่คลินิกเบาหวาน ได้จัดบริการโดยเฉพาะ และให้คำแนะนำแก่คนไข้และญาติในการดูแลตนเอง คนไข้บางรายยังสับสนในการปฏิบัติ ทำให้เกิดปัญหาที่ไม่ได้คาดคิด ข้อเขียนต่อไปนี้เป็นข้อแนะนำสำหรับคนไข้และญาติในการแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นการฉีดยาและกินยาเบาหวานโรคเบาหวานแบ่งเป็น 2 ชนิด ชนิดที่ 1 เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้ ...
  • เบาหวาน น้ำตาลเป็นพิษ (1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    เบาหวานเป็นโรคที่ติดอันดับต้นๆ ของคนไทย เป็นโรคเรื้อรังที่ต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องต้องอาศัยความเข้าใจต่อสภาวะของโรค และความร่วมมือของคนไข้ในการดูแลตนเอง รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการต่อสู้โรคเบาหวาน ให้คนไข้มีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างปกติสุขและไม่มีภาวะแทรกซ้อนปัจจุบันโรงพยาบาลต่างๆ ตั้งแต่ระดับโรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป จนถึงโรงพยาบาลชุมชน ...
  • ข้างหลังโรงพยาบาล

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 349 พฤษภาคม 2551
    ประชาชนที่มาโรงพยาบาล จะพบเห็นและรู้จักหมอ พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบำบัด เจ้าหน้าที่เอกซเรย์ เจ้าหน้าที่ห้องตรวจปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่เวชระเบียน พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพนักงานเข็นเปลอาคารสถานที่ที่ประชาชนพบเห็น เริ่มตั้งแต่ด้านหน้าโรงพยาบาล ห้องตรวจคนไข้ฉุกเฉิน ห้องตรวจคนไข้นอก ห้องจ่ายยา ห้องตรวจปฏิบัติการต่างๆ ห้องผ่าตัด ห้องคลอด ...
  • ห่วงใยและใส่ใจผู้ติดเชื้อเอดส์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 335 มีนาคม 2550
    ห่วงใยและใส่ใจผู้ติดเชื้อเอดส์เอดส์เป็นโรคที่เมื่อได้ยินแล้ว ผู้คนจะหวาดกลัว และแยกตัวเองออกจากผู้ติดเชื้อ โดยเกรงว่าจะทำให้ตัวเองติดเชื้อไปด้วย ทั้งๆ ที่รู้อยู่เต็มอกว่าเชื้อเอดส์ไม่ใช่โรคที่ติดต่อกันง่าย โดยเพียงการใกล้ชิด สัมผัสเนื้อตัว หายใจรดกัน หรือกินอาหารร่วมกัน แต่เอดส์ติดต่อจากเพศสัมพันธ์ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน แต่พฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ ผู้คนบางกลุ่มยังคงประพฤติปฏิบัติ ...
  • ยาสำคัญกว่าที่คิด (2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    ยาสำคัญกว่าที่คิด (2)ฉบับที่แล้วเขียนถึงเรื่องความยุ่งยากของการจัดยาให้ถูกขนาด ถูกเวลา และถูกเทคนิค สำหรับคนไข้ผู้ใหญ่ที่กินยาได้ไปแล้วยังมีกลุ่มคนไข้อีกกลุ่มหนึ่งที่มีปัญหายุ่งยากเพิ่มขึ้น ได้แก่ คนไข้เด็ก คนไข้ที่มีปัญหาด้านการกลืนหรือกินไม่ได้เภสัชกรจะจัดเตรียมยาสำหรับคนไข้เฉพาะราย (extemporaneus preparation) เพื่อให้คนไข้สามารถได้ยาด้วยวิธีการที่เหมาะสมยกตัวอย่างเช่น ...
  • ยาสำคัญกว่าที่คิด (1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    ยาสำคัญกว่าที่คิด (1)เมื่อเจ็บป่วย ยาคือปัจจัยสำคัญที่จะใช้ต่อสู้โรคร้าย หน้าที่ของหมอคือจัดยาอย่างถูกต้องทั้งชนิดและความแรง เพื่อให้ผู้ป่วยหายเป็นปกติเรื่องของยามีประเด็นสำคัญที่พวกเราอาจไม่สนใจ แต่เป็นประเด็นสำคัญ ที่ทั้งผู้ให้การรักษาพยาบาลและคนไข้พึงรับรู้ เพื่อให้ได้รับยาที่ทรงอิทธิฤทธิ์พิชิตโรคร้าย โดยไม่แว้งกลับมาทำร้ายตัวคนไข้ ให้ยาอย่างไรจึงทำร้ายคนไข้การให้ยาที่เกิดผลร้ายมีหลายกรณี ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ตรวจสุขภาพด้วยแผนภูมิ
  • ตา...หน้าต่างโลก
  • ตู้ยาประจำบ้าน
  • ต้นไม้ใบหญ้า
  • ถาม-ตอบผ่าน website
  • ถาม-ตอบเรื่องยา
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • ทันโรค
  • ท่อง WWW ไปกับคลินิก
  • ท่องไปได้คิด
  • ธรรมโอสถ
  • นวดไทย
  • นานาสาระ
  • นานาสาระ
  • บทความพิเศษ
  • ‹‹
  • 4 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa