Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » นานาสาระ

นานาสาระ

สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ

  • แพทย์พันธุ์ใหม่อีกแล้ว?
ดูทั้งหมด
  • กัญชา มีอะไรมากกว่ายาเสพติด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    กัญชา มีอะไรมากกว่ายาเสพติด เมื่อผมเด็กๆผมจำได้ว่าที่บ้านผมซึ่งเป็นร้านขายของเบ็ดเตล็ดอยู่ที่ตำบลบ้านเหนือ จังหวัดกาญจนบุรีนั้นมีกัญชาขายด้วย ดูเหมือนจะเป็นมัดเล็ก ๆ ใส่อยู่ในปีบ มัดละ 2-3 สตางค์ มีคนมาซื้อบ้างนาน ๆ ครั้งพ่อบอกว่าตาล้วนซึ่งมีนิวาสสถานอยู่หลังบ้านแกสูบกัญชา แกเป็นคนขี้ขโมย ขโมยดะตั้งแต่ของเล็ก ๆ น้อย ๆ ไปจนปลาที่พ่อผมไปลงแหลงอวนไว้ที่แม่น้ำ ...
  • ฉีดยาเข้าข้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    ฉีดยาเข้าข้อคุณยายอายุ 72 ปี มีอาการเข่าขวาบวม ปวดเข่าเรื้อรังมาหลายปี และเป็นมากขึ้นเมื่อ 4 เดือนก่อน เดินไม่ได้มา 2 เดือนแล้ว คุณยายได้รับการรักษาโดยหมอกลางบ้าน ซึ่งใช้วิธีเหมารักษาจนกว่าจะหาย โดยคิดค่ารักษาเป็นจำนวนเงินหลายพันบาทวิธีการรักษาโดยการฉีดยาเข้าข้อเข่าติดต่อกันมานาน 3-4 เดือน รวมจำนวนหลายสิบเข็ม แต่อาการกลับทรุดหนักลง ข้อเข่าบวมมากขึ้นเวลาขยับจะปวดมาก ต้องนอนงอเข่านิ่งๆ บนเตียง ...
  • เมืองคนแก่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    เมืองคนแก่คุณคงได้ยินข่าวเมื่อปลายปีที่แล้วหรือประมาณต้นปีนี้ ที่ทางญี่ปุ่นได้ติดต่อผู้ใหญ่ในรัฐบาลท่านหนึ่ง เพื่อจะมาตั้งนิคมคนแก่ในเมืองไทย มีคนเห็นดีเห็นงามด้วยคงไม่กี่มากน้อย แต่คนคัดค้านก็มากหลาย อย่างว่า คิดว่าจะได้เงินเยนญี่ปุ่นมาทำนุบำรุงประเทศ คอลัมนิสต์หลายคนก่นว่า “คนสิ้นคิด คิดขายผืนแผ่นดินให้คนต่างชาติมันมากินมาอยู่ ใช้ชีวิตฟุ่มเฟือยของมัน” ...
  • การบริหารการกิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    การบริหารการกินแม้จะไม่ทำให้สุขภาพดีขึ้นมาทันทีทันใด แต่การกินอย่างถูกต้องให้เป็นนิสัยก็จะทำให้มีอายุยืนยาว ขอให้ตระหนักว่า ยิ่งพยายามมากขึ้นเท่าไร ก็จะมีผลมากขึ้นเท่านั้น วิธีบริหารการกินง่ายๆ มีดังต่อไปนี้ลดไขมันในอาหารการลดไขมันในอาหารจะช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ช่วยให้น้ำหนักลด โดยการกินดังนี้1. กินอาหารจากแหล่งเนื้อที่มีไขมันต่ำ2. หลีกเลี่ยงพวกไขมันทุกชนิด3. ...
  • เข้าเฝือกทำไม?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    เข้าเฝือกทำไม?หากถามถึงข้อเสียของเฝือก ผู้ป่วยที่เคยเข้าเฝือกนั่นแหละจะตอบได้ดีกว่าแพทย์- ร้อน อึดอัด ไม่ระบายอากาศ อาบน้ำไม่ได้ แค่นี้ก็แย่แล้ว- ปวด บวม ปลายนิ้วเขียวเย็น จนแพทย์ต้องตัดเฝือกออกเองทั้งๆ ที่เป็นคนใส่ก็มี- หนัก เคลื่อนไหวเดินเหินไม่สะดวก พอดีพอร้ายหกล้มก้นจ้ำเบ้าพลอยให้กระดูกดีๆหักไปด้วย- บางทีก็เข้าแน่นหนาเกือบทั้งตัว ได้แต่นอนเฉยๆ บนเตียง ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจ- ...
  • ความพิการที่แก้ไขได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 129 มกราคม 2533
    ความพิการที่แก้ไขได้ชายสองพ่อลูกที่นั่งอยู่ตรงหน้าผมในขณะนี้ ทำให้ผมหวนระลึกถึงเหตุการณ์เมื่อ 5 ปีก่อน เมื่อพ่อนำลูกชายอายุ 12 ปีมาโรงพยาบาล เพื่อให้แพทย์ช่วยส่งเด็กเข้าไปอยู่ในสถานสงเคราะห์คนพิการเด็กน้อยเป็นโรคโปลิโอตั้งแต่อายุ 3 ปี ขาลีบทั้ง 2 ข้าง ไม่สามารถเดินได้ ต้องคลาน 4 เท้าเมื่อต้องการจะไปไหนมาไหนเอง หรือมิฉะนั้นก็ต้องขี่คอพ่อ ข้อสะโพกทั้ง 2 ข้างของเด็กน้อยติดยึดในท่างอ ...
  • ยาแก้ปวด : กว่าปวดจะหาย...

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    ยาแก้ปวด : กว่าปวดจะหาย...ชาวไร่ ชาวนา และกรรมกรที่ทำงานหนัก ไม่พ้นที่จะมีอาการเคล็ดขัดยอกปวดเมื่อยตามร่างกาย ตามข้อ คอ สันหลัง ไหล่ และแขน ขา โดยเฉพาะภายหลังตรากตรำมาจากงานอาการปวดเมื่อยดังกล่าวเกิดจากงานที่หักโหม งานเกินกำลัง หรือการทำงานติดต่อกันนานเกินไปจนร่างกายเกิดความเครียด ถ้าลดความหลักลงหรือหยุดพักผ่อนให้เพียงพอก็จะหายได้เอง แต่หลายคนต้องหักโหมงานไม่หยุดยั้ง อาจจากความขยัน ...
  • การปฐมพยาบาลกระดูกหักบาดแผลเปิด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 125 ตุลาคม 2532
    การปฐมพยาบาลกระดูกหักบาดแผลเปิดกระดูกหักบาดแผลเปิด หมายถึง ภาวะกระดูกหักที่มีบาดแผลฉีกขาดติดต่อกันจนถึงชั้นผิวหนัง กระดูกหักบาดแผลเปิด จึงมีโอกาสได้รับสิ่งสกปรกและเชื้อโรคจากภายนอกเข้าสู่ภายในบาดแผล และทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อต่อไป ซึ่งการอักเสบติดเชื้อของกระดูกนั้น รักษายากนักยากหนา บางรายต้องรักษากันนานหลายๆ ...
  • จะไม่ต้องตัดขา ถ้าอดบุหรี่ได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    จะไม่ต้องตัดขา ถ้าอดบุหรี่ได้“ผมไม่ยอม” ผู้ป่วยตะโกนลั่นห้องตรวจเมื่อนักศึกษาแพทย์พยายามอธิบายเหตุผลว่าทำไมเราจะต้องตัดขาของเขาเขาเป็นชายวัยกลางคน มีอาการหลอดเลือดที่เท้าขวาอุดกั้น นิ้วเท้าและตัวเท้าเหี่ยวแห้งและเป็นสีดำคล้ำไปจนถึงข้อเท้า นิ้วหัวแม่เท้าซึ่งด้วนกุดถึงโคนนิ้วมีน้ำหนองไหลเยิ้ม ส่งกลิ่นเหม็น เท้าข้างซ้ายแม้จะยังดีอยู่ ...
  • กินอะไรกันนักหนา พาให้เกิดโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    กินอะไรกันนักหนา พาให้เกิดโรคท่านผู้อ่านที่เคยเดินผ่านตามร้านอาหารประเภท “แซ่บ” ทั้งหลายคงจะเห็นมีผู้คนอุดหนุนมากมาย สังเกตดูดีๆ ก็จะเห็นว่ามีอาหารที่ล้วนแต่กินแล้วรู้สึก “แซ่บ” เช่น ข้าวเหนียว ส้มตำ ลาบ เนื้อน้ำตกที่มักจะเรียกว่า “เสือร้องไห้” ลาบที่ว่าก็ใช่จะเป็นลาบธรรมดา แต่เป็นลาบเลือด สีแดงแจ๋เลยครับวิธีทำก็ไม่ยาก คือ ทำลาบธรรมดาเสร็จแล้ว ใครต้องการ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa