คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
368
ธันวาคม 2552
เลือดยังเป็นสิ่งจำเป็นที่คนจะมอบให้คนอื่นเพื่อช่วยเยียวยาชีวิต แม้ว่าปัจจุบันจะมีสารประกอบที่ใช้แทนเลือดได้ แต่ในบางกรณีเลือดจากคนก็ยังเป็นสิ่งจำเป็นและมีประสิทธิภาพต่อการรักษาพยาบาลที่สุด การจัดหาเลือดด้วยกระบวนการต่างๆ เพื่อให้ได้เลือดที่ปลอดภัยสำหรับคนไข้ในประเทศไทยเรานั้น เป็นกระบวนการที่ดีได้มาตรฐานระดับองค์การอนามัยโลกการให้เลือดที่ปลอดภัยการให้ยาและเลือดที่ปลอดภัย (blood ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
367
พฤศจิกายน 2552
ความปลอดภัยของคนไข้ เป็นสิ่งที่คนไข้และผู้เกี่ยวข้องทุกคนให้ความสำคัญสูงสุด โรงพยาบาลต่างๆ จึงพัฒนาคุณภาพ โดยเน้นการสร้างระบบงานต่างๆ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าคนไข้ที่เข้ามารับบริการจะได้รับการรักษาพยาบาลที่ดีที่สุด ตามมาตรฐานและจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เพื่อให้คนไข้ได้รับความปลอดภัย หายจากการเจ็บไข้ โดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน หรือได้รับอันตรายใดๆ โรงพยาบาลต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
คนไข้ชายอายุ 80 ปีคนหนึ่ง เกิดการอักเสบติดเชื้อที่ขาขวา แพทย์ที่โรงพยาบาลศูนย์ได้ทำการผ่าตัดเนื้อเยื่อที่ตายออก ทำให้เกิดบาดแผลซึ่งมีขนาดใหญ่เกือบรอบขาคนไข้นอนอยู่โรงพยาบาลหลายวัน ได้รับการทำผ่าตัดเนื้อตายหลายครั้ง เมื่อแผลดีขึ้นแพทย์แนะนำให้ทำการผ่าตัดปลูกผิวหนัง (skin graft) โดยตัดผิวหนังชั้นตื้นของขาอีกข้างหนึ่งมาปลูกที่แผล ส่วนแผลจากการตัดผิวหนังชั้นตื้นของขาข้างดีนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
363
กรกฎาคม 2552
หญิงสาวคนหนึ่ง ถูกไฟฟ้าช็อตจนต้องตัดแขนและขาทั้ง 2 ข้าง แต่ด้วยความมุ่งมั่นเข้มแข็ง ไม่ยอมแพ้ต่อโชคชะตา แม้จะเดินไม่ได้ต้องเคลื่อนไหวโดยใช้รถเข็น แม้จะไม่มีมือแต่เธอใช้ท่อนแขนทั้ง 2 ข้าง ฝึกเขียนหนังสือ วาดภาพ ใช้คอมพิวเตอร์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
362
มิถุนายน 2552
โดยจริยธรรมของแพทย์ สิ่งที่แพทย์ตรวจพบจากตัวคนไข้ หรือสิ่งที่คนไข้บอกเล่าให้แพทย์ทราบ แพทย์ต้องรักษาเป็นความลับ โดยการไม่เปิดเผยต่อผู้อื่น รวมทั้งการเก็บรักษาข้อมูลของคนไข้ต่างๆ ที่บันทึกได้ในเวชระเบียน แพทย์และโรงพยาบาลต้องจัดระบบการเก็บรักษา เพื่อไม่ให้บุคคลอื่นๆ แม้แต่เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล หรือญาติของคนไข้เข้าถึงข้อมูลได้ โดยมิได้รับอนุญาตจากคนไข้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
361
พฤษภาคม 2552
"เมื่อก่อนที่ยังไม่ได้ทำงานกับผู้ติดเชื้อ รู้จักแต่คำว่า precaution (ระวังไว้ก่อน) คอยย้ำเตือนเกี่ยวกับการติดต่อการแพร่กระจายของโรค คิดแต่ว่าต้องแยกผู้ป่วยไว้ต่างหาก แม้แต่ผู้ป่วยเด็กติดเชื้อยังรู้สึกว่าต้องดูแลเขาต่างจากเด็กทั่วไป หลังจากได้มาทำงานตรงจุดนี้ ได้เข้าใจเรื่องโรค แนวทางการรักษา และผลกระทบที่เกิดขึ้น ทำให้ความรู้สึกที่มีเปลี่ยนไป เด็กติดเชื้อมีวิถีชีวิตเหมือนเด็กปกติทั่วไป ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
359
มีนาคม 2552
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญต่อการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัยของประชาชน ดังกระแสพระราชดำรัส"การแพทย์และการสาธารณสุข เป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ ไม่มีประเทศใดในโลก จะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์แบบหากในประเทศนั้นๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ""คนเรามีสุขภาพเสื่อมโทรม ก็จะไม่สามารถพัฒนาชาติได้ เพราะทรัพยากรที่สำคัญของประเทศชาติก็คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
358
กุมภาพันธ์ 2552
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงตระหนักถึงความสำคัญของงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข ทรงสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผู้ทรงเป็นพระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย และสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ผู้ทรงเป็นพระมารดาแห่งการสาธารณสุขไทยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานทรัพย์ และทรงประกอบพระราชกรณียกิจต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
357
มกราคม 2552
โรงพยาบาลชุมชน เป็นหน่วยบริการที่สำคัญในการให้บริการสุขภาพประชาชนในสภาพสังคมไทยขณะนี้ เนื่องจากตั้งอยู่ในอำเภอ ซึ่งคนไข้สามารถเข้าถึงบริการได้ง่าย และสะดวกกว่าการมารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลทั่วไป หรือโรงพยาบาลศูนย์ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดโรงพยาบาลชุมชนเป็นส่วนเชื่อมเครือข่ายระหว่างชุมชน ศูนย์แพทย์ชุมชน และโรงพยาบาลใหญ่ระดับจังหวัดโรงพยาบาลชุมชนทุกวันนี้สามารถให้บริการคนไข้ ได้อย่างมีคุณภาพ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
356
ธันวาคม 2551
การล้างมือเป็นเรื่องสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับคนไข้ ญาติ หมอ พยาบาล และบุคคลรวมทั้งที่มีส่วนในการดูแลคนไข้ เพราะมือที่สัมผัสสิ่งต่างๆ มีโอกาสปนเปื้อนเชื้อโรคและเป็นตัวกลางในการแพร่เชื้อโรคได้อย่างคาดไม่ถึงมีการวิจัยที่สำคัญหลายเรื่อง ที่ยืนยันผลการล้างมือให้สะอาดระหว่างการรักษาพยาบาล ส่งผลให้ลดการติดเชื้อลง จนองค์การอนามัยโลกให้ความสำคัญ กำหนดให้เป็นเป้าหมายในการรักษาพยาบาลที่ปลอดภัย ...