Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ชี้ทิศ รู้สิทธิ

ชี้ทิศ รู้สิทธิ

  • ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ใกล้ตาย (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” (human dignity) เป็นคุณค่าที่ติดตัวมนุษย์ทุกคนมาตั้งแต่ถือกำเนิดบนโลกใบนี้ และยังดำรงอยู่แม้ว่ามนุษย์ผู้นั้นจะเสียชีวิตไปแล้ว ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ถือเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของสิทธิมนุษยชน (hunan rights) ดังที่ปรากฏใน “ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘” (the Universal Declaration of Human Rights)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.๒๕๕๐) ...
  • กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ (ตอนที่ ๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    ปัญหาการแทรกแซงของอุตสาหกรรมยาสูบ ในการกำหนดนโยบายและมาตรการควบคุมยาสูบของภาครัฐในหลายประเทศ มีสถานการณ์ที่ค่อนข้างรุนแรง โดยเฉพาะรัฐบาลของประเทศที่ให้ความสำคัญกับการควบคุมยาสูบน้อย หรือประเทศที่ภาคประชาสังคมขาดความเข้มแข็งเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ค.ศ.๒๐๐๘ ที่ประชุมภาคี FCTC เห็นชอบต่อแนวทางปฏิบัติตาม มาตรา ๕.๓ แห่ง FCTC เพื่อป้องกันมิให้นโยบายควบคุมยาสูบถูกผู้ประกอบการในธุรกิจยาสูบเข้าแทรกแซง ...
  • กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    องค์การอนามัยโลกได้กำหนดให้วันงดสูบบุหรี่โลก (World No Tobacco Day) ในปีนี้คือวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ผ่านมา มีคำขวัญว่า “กรอบอนุสัญญาขององค์การอนามัยโลกว่าด้วยการควบคุมยาสูบ” (The WHO Framework Convention on Tobacco Control - FCTC) เพราะต้องการเน้นย้ำให้ภาคีทั้งหลายปฏิบัติตามพันธกรณีตามอนุสัญญานี้ FCTC หรือกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ (มาตรา ๕.๓) ...
  • การแก้ปัญหาภาวะขาดสารไอโอดีนของไทย (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    สารไอโอดีนเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นสำหรับคนทุกวัย โดยเฉพาะกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กเล็ก เพราะมีความสำคัญต่อพัฒนาการทางสมองและระบบประสาทของเด็กในครรภ์ หากหญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีนอาจทำให้แท้งลูก หรือเด็กทารกพิการแต่กำเนิด เด็กมักจะปัญญาอ่อน เป็นใบ้ มีปัญหาไอคิวต่ำ เฉื่อยชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง ช่วยตัวเองไม่ได้ ที่เรียกว่าโรคเอ๋อ และทำให้เป็นโรคคอหอยพอก ...
  • การทำหนังสือแสดงเจตนาปฏิเสธการรักษา (Living Will) ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ (ตอนที่ ๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 382 กุมภาพันธ์ 2554
    ผู้ที่ทำหนังสือแสดงเจตนาปฏิเสธการรักษาในต่างประเทศยังมีไม่มากนัก ส่วนใหญ่มักจะเป็นบุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ที่มีการศึกษา กรณีศึกษาที่สอดคล้องกับการใช้สิทธิตามมาตรา ๑๒ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ คือ กรณีคุณยอดรัก สลักใจ ที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งตับและเสียชีวิตเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๑ ก่อนที่คุณยอดรักจะเสียชีวิตอย่างสงบ ...
  • การแก้ปัญหาภาวะขาดสารไอโอดีนของไทย (ตอนที่ ๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    เพื่อแก้ปัญหาภาวะขาดสารไอโอดีนของคนไทยทั่วประเทศที่อยู่สภาพวิกฤติ โดยเฉพาะประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ประสบปัญหามากที่สุด คือมีอัตราการใช้เกลือเสริมไอโอดีนเพียงร้อยละ ๓๕ (ข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ.๒๕๔๙) ขณะนี้กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้เสริมไอโอดีนในเครื่องปรุง ๔ ประเภท ได้แก่ เกลือบริโภค น้ำปลา น้ำเกลือปรุงอาหาร ...
  • การทำหนังสือแสดงเจตนาปฏิเสธการรักษา (Living Will) ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    หากย้อนกลับไปเมื่อราว ๓๐ ปีที่ผ่านมา การทำหนังสือแสดงเจตนาปฏิเสธการรักษา (Living Will ๑หรือ Advance Directives) อยู่ในความสนใจของนักวิชาการ สื่อมวลชน และประชาชนทั่วไปในขณะนั้น แม้ปัจจุบันก็ยังอยู่ในความสนใจเพราะถือเป็นเรื่องใหม่ของสังคมไทย ในต่างประเทศมีการทำหนังสือลักษณะนี้มากกว่า ๒๐ ...
  • ร่างกฎหมายคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ กับ การแก้ปัญหาวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์หรือตั้งครรภ์โดยไม่มีความพร้อม (ตอนที่ ๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 380 ธันวาคม 2553
    พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ มาตรา ๖ ระบุว่า สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ ซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อน และมีอิทธิพลต่อสุขภาพของหญิงตลอดช่วงชีวิต ดังนั้น การแก้ปัญหาหญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์โดยไม่มีความพร้อมที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยอาศัยเพียงกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งหรือ (ร่าง) พ.ร.บ.คุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ ...
  • ร่างกฎหมายคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ กับ การแก้ปัญหาวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์หรือตั้งครรภ์โดยไม่มีความพร้อม (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 379 พฤศจิกายน 2553
    ปัญหาวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์หรือตั้งครรภ์โดยไม่มีความพร้อม เป็นปัญหาสังคม ศีลธรรม และระบบสาธารณสุข โดยเฉพาะการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยและผิดกฎหมาย มีข้อมูลพบว่า เด็กที่คลอดก่อนกำหนดปีละ ๖.๔-๘ หมื่นราย หรือคิดเป็นร้อยละ ๘-๑๐ ของหญิงตั้งครรภ์ในแต่ละปี จะมีทารกส่วนหนึ่งเสียชีวิต หรือถ้าหากรอดชีวิตก็จะมีภูมิต้านทานต่ำ ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาลหลายสัปดาห์หรืออาจเป็นเดือน ...
  • ร่างกฎหมายอุ้มบุญ (๒) ความหวังของหญิงที่มีบุตรยาก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ฉบับที่แล้วสรุปสาระสำคัญของร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. .... เสนอโดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ๓ ประเด็นไปแล้ว ฉบับนี้ต่อประเด็นที่ ๔-๘ ดังนี้ ๔. เรื่องความเป็นบิดามารดาตามร่างกฎหมายนี้ ถือว่าเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของคู่สมรสที่ต้องการจะมีบุตร แม้ว่าคู่สมรสที่ต้องการจะมีบุตรถึงแก่ความตายก่อนเด็กเกิดก็ตาม ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa