Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » มุมมองเภสัช

มุมมองเภสัช (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • Vancomycin กับการหวังผลทางการรักษาตามหลักเภสัชจลนศาสตร์

    วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ผู้ป่วยชายไทย อายุ 87 ปี มีประวัติของ Chronic kidney disease (CKD) ถูกส่งตัวมาจากโรงพยาบาลประจำจังหวัดด้วยอาการซึมและสับสน หลังเข้ารับรักษาด้วยการผ่าตัด ดามแขนที่หักจากการลื่นล้ม ภายหลังเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยได้ 72 ชั่วโมง ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่ามีอาการของปอดอักเสบจากการติดเชื้อและมีภาวะ acute renal failure ร่วมด้วยจากการวิเคราะห์ผลตรวจทางจุลชีววิทยาจากเสมหะพบเชื้อ ...
  • Theophylline : บทบาทใหม่ที่น่าติดตาม

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease : COPD) เป็นโรคที่เกิดจากการที่ผู้ป่วยได้รับสารพิษเรื้อรัง เช่น ควันบุหรี่ มลพิษทางอากาศ ฯลฯ ผ่านระบบทางเดินหายใจ กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจนหลั่ง proinflammatorymediator จึงเกิดการอักเสบขึ้นในหลอดลมและลามไปถึงเนื้อปอด. สำหรับหลักการรักษาผู้ป่วย COPD ...
  • หลักในการบรรเทาอาการปวดด้วย Fentanyl Transdermal Patch (Fentanyl TTS)

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ชายไทยคู่ อายุ 51 ปีได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะสุดท้าย (Stage IV). ผู้ป่วยเคยได้รับการผ่าตัดลำไส้ใหญ่ (colectomy) ร่วมกับ jejunostomy. ต่อมาผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยอาการปวดแบบตื้อๆบริเวณหน้าท้อง ตลอดเวลา ความรุนแรงระดับ 10 (visual analog scale). ผู้ป่วยได้รับยา morphine 15 มก. IV ทุก 4 ชั่วโมง (90 มก./วัน) ร่วมกับ pethidine 25 มก. IV สำหรับ breakthrough ...
  • Drug interactions ภัยที่ซ่อนเร้น

    วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 48 ปี ได้เริ่มรับการรักษามะเร็งรังไข่ ด้วยวิธีการผ่าตัดและเคมีบำบัดสูตรผสม (paclitaxel และ carboplatin). ในระหว่างเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการขาด้านซ้ายบวมแดงและมีอาการปวด จึงถูกวินิจฉัยว่าเป็น deep vein thrombosis (DVT) และได้รับการรักษาด้วยยากลุ่ม low molecular weight heparin ฉีดเข้าใต้ผิวหนังเป็นเวลา 2 วัน ร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือด (warfarin 3 ...
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa