Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » นพ.ประวิตร พิศาลบุตร

นพ.ประวิตร พิศาลบุตร (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • โรคสิววิสามัญ (Uncommon acne)

    วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    สิวในเวชปฏิบัติ (Acne in Clinical Practice) ตอนที่ 4 โรคสิววิสามัญ (Uncommon acne)เรื่องของโรคสิวที่กล่าวไปในตอนที่ 1-3 เป็นโรคสิวที่พบบ่อย เรียกว่า โรคสิวสามัญ (acne vulgaris) แต่ยังมีโรคสิวบางชนิดเกิดจากสาเหตุเฉพาะ จึงมีลักษณะที่แตกต่างไปจากโรคสิวที่พบประจำ เรียกว่า โรคสิววิสามัญ (uncommon acne) เช่น สิวแกะเกา, สิวเสียดสี, สิวจากเครื่องสำอาง, สิวจากยา, สิวในทารกและในเด็ก, สิวจากเชื้อเกลื้อน, ...
  • โรคสิวในเวชปฏิบัติ (Acne in Clinical Practice) ตอนที่ 3

    วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    วิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคสิว (Physical Procedures for Treating Acne) นอกจากการใช้ยาทาและยาชนิดกินรักษาโรคสิวที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังมีวิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคสิวและรอยแผลเป็นจากสิว ดังนี้1. การลอกผิวหนังด้วยสารเคมี (chemical peels)เป็นเทคนิคที่นำมารักษาโรคสิวและรอยแผลเป็นสิวที่ใช้กันมาก สารเคมีที่ใช้ในการลอกผิวหนัง ได้แก่ กรดแอลฟาไฮดรอกซี (alpha hydroxy acid, AHA) ...
  • โรคสิวในเวชปฏิบัติ (Acne in Clinical Practice) ตอนที่ 2 : ยาชนิดกินรักษาโรคสิว

    วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    แพทย์ใช้ยาปฏิชีวนะชนิดกินรักษาโรคสิวอักเสบปานกลางจนถึงรุนแรงเพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิว (P. acnes) แต่ก็พบปัญหาเชื้อดื้อยาได้บ่อย เช่น เชื้อดื้อต่อยา erythromycin การใช้ยาปฏิชีวนะชนิดกินร่วมกับยาทา benzoyl peroxide อาจช่วยลดปัญหาเชื้อดื้อยาได้. อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการกินยาต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน อาจมีผลเสียต่อร่างกายได้ จึงควรเลือกใช้ยาชนิดกินเฉพาะในรายที่มีข้อบ่งชี้. ...
  • โรคสิวในเวชปฏิบัติ (Acne in Clinical Practice)

    วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    ตอนที่ 1 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคสิวและยาทารักษาโรคสิว ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคสิว สิวจัดเป็นโรคของต่อมไขมัน (sebaceous gland) ของผิวหนังที่พบบ่อยที่สุดในเวชปฏิบัติ สถิติของสถาบันโรคผิวหนังแสดงว่า สิวเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์เป็นอันดับ 2 ของผู้ป่วยทั้งหมด เป็นชายร้อยละ 33, หญิงร้อยละ 67 สิวมักปรากฏอาการในหญิงอายุช่วง 14-17 ปี, และในชายช่วงอายุ 16-19 ปี ...
  • The Retinoids (ตอนที่ 3)

    วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    ผลข้างเคียงข้อแทรกซ้อนที่รุนแรงที่สุดคือ teratogenicity  พบว่าลักษณะผลข้างเคียงของ systemic retinoids (ตารางที่ 2) คล้ายคลึงกับลักษณะพิษของวิตามินเอ หรือกลุ่มอาการ hypervitaminosis A อาจแบ่งผล ข้างเคียง (type I) และลักษณะพิษทาง systemic (type II) ดังตารางที่ 3. พิษเฉียบพลันของ retinoid รวม ถึงรอยโรคทาง mucocutaneous (ในผู้ป่วยส่วนใหญ่) และความผิดปกติทางห้องปฏิบัติการ (พบได้น้อยกว่า ...
  • The Retinoids (ตอนที่ 2)

    วารสารคลินิก 237 กันยายน 2547
    ประโยชน์ทางคลินิก (ตารางที่ 1)    Psoriasis Retinoids ที่จัดเป็นทางเลือกแรกในการรักษา psoriasis ชนิดที่นำมาใช้ได้แก่ etretinate และ acitretin. Acitretin มีประสิทธิภาพเท่ากับ etretinate ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa