นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
347
มีนาคม 2551
นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ สาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหายใจ ช้า...ช้า...ช้า...ลดความดันเลือด พาจิตผ่อนคลาย สลายความเครียดการหายใจช้า จะลดการทำงานระบบ "สู้" และเพิ่มการทำงานของระบบประสาท "พัก" หัวใจจะเต้นช้าลง ความดันเลือดก็ลดลงด้วยทำไมต้องหายใจช้าหลายคนอาจสงสัยว่า ทำไมต้องมาสนใจการ หายใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
342
กันยายน 2550
นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ สาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรคร้ายสะสมจากการบริโภค ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
329
กันยายน 2549
รักษ์หัวใจถวายในหลวงปีนี้เป็นปีมหามงคลที่สำคัญยิ่งของชาวไทยทุกหมู่เหล่า เป็นปีแห่งการครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่เป็นแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด ขอเชิญทุกท่านร่วมทำความดีให้หัวใจแข็งแรง โดยการดูแลสุขภาพ" ๖ อ." เพื่อหัวใจที่คุณรัก คือ "อ.โอกาสเสี่ยง อ.อาหาร อ.อิริยาบถ/ออกกำลังกาย อ.อารมณ์ อ.อากาศ และ อ.อ้วน"อ.๑ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
325
พฤษภาคม 2549
เครียดกับความดันเลือดสูงกลไกความสัมพันธ์ระหว่างความดันเลือดสูงกับความเครียดเฉียบพลัน ผ่านการกระตุ้นมาจากระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเทติก ทำให้การเต้นของหัวใจเร็วขึ้นและความดันเลือดสูงขึ้น ความเครียด คือสภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าจากภายนอก (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส) และภายใน (สิ่งที่ใจนึกคิด) มากระทบ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จนเสียสมดุลก่อให้เกิดการปรับตัวเพื่อจัดการกับสิ่งเร้าต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
324
เมษายน 2549
“ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น” เป็นคำไทยแต่โบราณที่ช่วยบอกถึงความสำคัญของลักษณะที่เหมือนกันในลูกหลานกับพ่อแม่ปู่ย่าตายาย วงศาคณาญาติเดียวกันในทางพระพุทธศาสนาก็ได้มีการบัญญัติความจริงตามธรรมชาติ ๕ ประการ (นิยาม ๕) ซึ่งหนึ่งในห้าของกฎธรรมชาตินี้คือ พีชนิยาม กฎแห่งพืชพันธุ์ ก็บ่งบอกถึงความสำคัญของการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในครอบครัว เข้าทำนองที่ว่า “หว่านพืช ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
314
มิถุนายน 2548
วันนี้...คุณเดินครึ่งชั่วโมงแล้วหรือยังทุกวันนี้ คนไทยป่วยเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด (โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน/อัมพาต) โรคเบาหวาน และโรคมะเร็งกันมากขึ้นกว่าเดิม สถิติอัตราป่วยด้วยโรคหัวใจเพิ่มขึ้นจาก ๒๙๒ รายต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ.๒๕๔๓ เป็น ๔๕๑ ต่อแสนคนในปี พ.ศ.๒๕๔๖ โรคเบาหวานเพิ่มจาก ๒๕๗ เป็น ๓๘๑ ต่อแสนคน โรคมะเร็งเพิ่มจาก ๗๒ เป็น ๑๐๒ ต่อแสนคนในเวลา ๓ ปี ทุกๆ ๖ นาที ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
ความดันเลือดสูงเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนไทยโดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมืองเฉลี่ยแล้ว ทุกๆ ๕ คนจะมีผู้ที่เป็นโรคความ ดันเลือดสูง ๑ คน อายุยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นโรคความ ดันเลือดสูงมากขึ้นตาม ดังนั้น ผู้ที่อายุมากกว่า ๓๕ ปี ทุกคนควรได้รับการตรวจวัดความดันเลือดอย่างน้อยปีละครั้ง ถ้าความดันเลือดเฉลี่ยจากการวัดหลายๆ ครั้งในเวลา ๑-๒ สัปดาห์ เกินกว่า ๑๔๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท ก็ถือว่าเป็นโรคความ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
304
สิงหาคม 2547
ความดันเลือดสูง : ภัยเงียบยุคใหม่ความดันเลือดสูงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคนไทย เพราะความดันเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของหญิงไทย และอันดับสองของชายไทยตามลำดับ นอกจากนี้ความดันเลือดสูงยังเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ4 ของหญิงไทย และอันดับ6 ของชายไทย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
299
มีนาคม 2547
โอกาสที่คุณจะเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า : การประเมินความเสี่ยงรวม (ตอนที่ ๒)ตอนที่แล้วได้พูดถึงสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงวิธีการประเมินความเสี่ยงรวมของสหรัฐอเมริกา ในตอนนี้มาดูวิธีการประเมินความเสี่ยงรวมของชาวยุโรปกันดีกว่า ที่เรียกว่าระบบ SCORE อีกวิธีหนึ่งที่น่าจะใช้ได้กับคนไทยอย่างเหมาะสมกว่าคือ วิธีการประเมินความเสี่ยงรวม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
298
กุมภาพันธ์ 2547
โอกาสที่คุณจะเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า : การประเมินความเสี่ยงรวม (ตอนที่ ๑)ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของคนไทย ทุกๆ ชั่วโมงจะมีคนไทยตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ๕ คน ตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ๒ คน ตายจากเบาหวาน ๒ คน สาเหตุที่สำคัญของโรคหัวใจและหลอดเลือดเกิดจากการแข็งและตีบตันของหลอดเลือดแดง(atherosclerosis) ...