Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • แอพลิเคชั่น DoctorMe
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ดร.คีรินท์ เมฆโหรา

ดร.คีรินท์ เมฆโหรา

  • เลือกเก้าอี้ ใช้กับคอมพิวเตอร์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มกราคม 2554
    ผู้เขียนถูกถามว่า “เลือกเก้าอี้ใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างไรดี” มากที่สุดคำถามหนึ่งจากการเป็นวิทยากรบรรยายจากการเดินตามงานขายเฟอร์นิเจอร์พบว่ามีเก้าอี้ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์หรือใช้ในสำนักงานขายกันหลายยี่ห้อ ทำให้ยากต่อการเลือกซื้อ อีกทั้งแต่ละยี่ห้อก็มีจุดเด่นที่นำมาเสนอขายกัน แต่ใช่ว่าเก้าอี้ที่มีจุดเด่นเหล่านั้นจะเป็นเก้าอี้ที่ดีหรือเหมาะสม ...
  • สมาร์ตโฟน กับสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    ฉบับนี้ผู้เขียนขอเขียนถึงเรื่องที่กำลังฮิต นั่นคือเรื่อง สมาร์ตโฟน เนื่องจากแนวโน้มของการใช้งานโทรศัพท์เริ่มเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โทรศัพท์ที่เดิมมีการใช้งานเพียงแค่โทร.เข้า โทร.ออก มาเป็นรูปแบบของสมาร์ตโฟน ที่มีความทันสมัยมากขึ้น ในความเป็นจริงสมาร์ตโฟนก็คือ โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถมากกว่าโทรศัพท์มือถือธรรมดา ถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาก็ได้ สามารถเชื่อมต่อ รับส่งข้อมูลได้ ...
  • รำไทยพิชิตปวด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 364 สิงหาคม 2552
    ผู้เขียนเคยกล่าวไว้ครั้งหนึ่งในหัวข้อ โรคอักเสบของเส้นประสาทบริเวณอุโมงค์ข้อมือ ว่าสามารถบรรเทาอาการของโรคได้โดยการรำไทย ฉบับนี้จะขอกล่าวถึงรายละเอียดของรำไทยว่าสามารถช่วยได้อย่างไรและรำท่าไหน เวลานานแค่ไหน เพื่อให้รำไทยได้อย่างถูกต้องและสามารถบรรเทาอาการของโรคได้เมื่อเส้นประสาทบาดเจ็บเส้นประสาทเป็นอวัยวะที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของร่างกาย ...
  • เมื่อไม่สิ้นหวังก็ไม่หมดหวัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 361 พฤษภาคม 2552
    เมื่อเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับการทำงานขึ้นแล้ว แน่นอนหลายๆ คนจะนึกถึงการรักษาเป็นอย่างแรก และเมื่อรักษาหายแล้ว การทำงานยังคงเป็นแบบเดิม รูปแบบเดิมๆ ระดับความหนักเดิมๆ หรือแม้กระทั่งพบกับความเครียดเดิมๆ แน่นอนโรคเดิมก็จะกลับมาถามหาอีกแน่เมื่อเป็นเช่นนี้ การจัดการโรคจึงไม่ใช่การรักษาอย่างเดียว หากแต่ต้องคำนึงถึงการป้องกันอันได้แก่การปรับเปลี่ยนให้งานเหมาะสมกับคน ...
  • การหายใจกับการทำงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    อาจจะสงสัยว่า ทำไมฉบับนี้คอลัมน์คนกับงานกล่าวถึงเรื่อง "การหายใจ" ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติที่ทุกคนสามารถทำได้ และไม่มีผู้ใดที่ไม่หายใจ แต่เชื่อหรือไม่ว่าการหายใจมีผลต่อการทำงาน ปัญหาทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งมีหลายคนหายใจได้ไม่ถูกต้อง ลักษณะการหายใจการหายใจของคนเราสามารถแบ่งออกตามลักษณะการทำงานของกล้ามเนื้อได้ 3 ลักษณะ ได้แก่1. การใช้กล้ามเนื้อกะบังลม การหายใจลักษณะ ...
  • ทำอย่างไรเมื่อต้องขับรถนานๆ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    ฉบับนี้ ผู้เขียนเองได้รับคำบอกเล่าจากน้องสาวของผู้เขียนหลังจากที่เธอได้ขับรถติดต่อกัน 5 ชั่วโมง ว่าน่าจะแนะนำการลดอาการปวดที่เกิดขึ้น เพราะแม้ว่าจะปรับเบาะและทุกสิ่งดีแล้ว แต่ถ้ายังต้องขับรถนานๆ ก็สามารถทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยอย่างแน่นอนอาการปวดเมื่อยและวิธีการบรรเทาอาการเบื้องต้นทั่วๆไปแล้ว อาการปวดบ่า กระบอกตา คอ หลัง หน้าขา (สะโพก) และน่อง เป็นอาการที่พบได้บ่อย ...
  • ปวดหลัง…ขับรถจะปรับอย่างไรดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 347 มีนาคม 2551
    ดร.คีรินท์ เมฆโหรา คณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดลปวดหลัง... ขับรถจะปรับเบาะอย่างไรดีมีผู้ป่วยหลายคนบ่นถึงอาการของตนเองว่า ถ้าขับรถแล้วจะมีอาการปวดหลังมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อต้องขับรถเป็นเวลานานๆ ดังนั้นหากต้องขับรถ ผู้ป่วยหลายๆ คนจะกลัว และมีความรู้สึกไม่อยากขับเอาเสียเลย แต่ยังมีผู้ป่วยอีกหลายคนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ...
  • โรคข้อศอกเทนนิส

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 345 มกราคม 2551
    ดร.คีรินท์ เมฆโหรา คณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดลโรคข้อศอกเทนนิส โรคสุดฮิตของคนใช้ ข้อมือและข้อศอกบ่อยๆการทำงานไม่ว่าจะเป็นงานหนักหรืองานเบา มักมีการกระดกข้อมือและเหยียดศอกอยู่เสมอ เช่น การปัดกวาดบ้าน การทาสี การตีกลอง ตลอดจนการเล่นกีฬาต่างๆ ขณะที่ทำงานกล้ามเนื้ออาจทำงานในลักษณะเกร็ง หรือทำงานซ้ำๆ กัน ส่งผลทำให้เกิดอาการปวดบริเวณข้อศอกด้านนอก ...
  • สุขภาพคนทำงาน ยกแขนสูงกว่าไหล่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 ตุลาคม 2550
    การทำงานของคนเราโดยทั่วไปจะใช้แขนอยู่ในระดับต่ำกว่าไหล่หรือสูงเพียงระดับไหล่เท่านั้น อาจมีบางครั้งที่ต้องยกแขนเหนือกว่าระดับไหล่บ้าง แต่ถ้าการยกแขนนั้นเป็นการยกของหนัก หรือยกซ้ำๆ บ่อยๆ อาจเป็นต้นเหตุของเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ถูกหนีบ (impingement syndrome) และเกิดอาการเจ็บ อักเสบของเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ได้ กลุ่มอาการเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ถูกหนีบโรคเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ถูกหนีบ ...
  • โรคกลุ่มคนใช้ข้อมือ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 340 สิงหาคม 2550
    คนกับงานดร.คีรินท์ เมฆโหรา คณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดลโรคสุดฮิตในกลุ่มคนที่ใช้ข้อมือนอกจากโรคเส้นประสาทที่ข้อมืออักเสบที่พบบ่อยในกลุ่มคนทำงานกับคอมพิวเตอร์ ที่ได้กล่าวถึงในฉบับที่ผ่านมาแล้ว ยังมีโรคเอ็นข้อมืออักเสบที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่ใช้มือทำงานบ่อยๆ ซ้ำๆ และข้อมืออยู่ในท่าที่ไม่ถูกต้อง โรคเอ็นข้อมืออักเสบที่พบได้บ่อยคือ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa