Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » นพ.พินิจ ลิ้มสุคนธ์

นพ.พินิจ ลิ้มสุคนธ์

  • หยุดใช้ยา... พร่ำเพรื่อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    สมัยนี้วิทยาการทางการแพทย์ก้าวหน้าไปไกลมาก บริษัทยาก็เกิดขึ้นมากมายผลิตยาขึ้นมาแข่งกัน แพทย์รุ่นใหม่ส่วนใหญ่ใช้ยากันมากเกินความจำเป็น เมื่อกล่าวเช่นนี้อาจมีทั้งคนที่คัดค้านและคนที่เห็นด้วยอยู่จำนวนไม่น้อย แต่ในทรรศนะของผู้เขียนที่เป็นแพทย์อาวุโสเกษียณแล้วคนหนึ่งซึ่งผ่านยุคสมัยต่างๆ มานาน ก็พอที่จะบอกได้ว่ามันเป็นเช่นนั้นจริงๆเมื่อครั้งอดีตที่ผู้เขียนเริ่มทำงานเป็นแพทย์ใหม่ๆ ...
  • วิตามินไม่ต้องกินทุกวัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    วิตามินเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อชีวิต แต่ต้องการปริมาณน้อยเป็นมิลลิกรัมหรือไมโครกรัมต่อวัน ร่างกายจะนำวิตามินแต่ละชนิดไปสร้างสารช่วยเร่งปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในร่างกายปกติแล้วสิ่งมีชีวิตสามารถสังเคราะห์วิตามินบางชนิดได้อย่างเพียงพอ ขณะที่บางชนิดก็จำเป็นต้องได้รับจากอาหาร คนและสัตว์ต้องการวิตามินอย่างน้อย ๑๓ ชนิดจากอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและการทำงานที่ปกติเราจำแนกวิตามินออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ...
  • คนกรุงแพ้ยาง่าย?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่มีโอกาสได้พบผู้ป่วยและได้ตรวจรักษาทั้งชาวกรุงและชาวบ้านในชนบท โดยมีงานประจำที่โรงพยาบาลเอกชนชื่อดังแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ทำอยู่ ๔ วันต่อสัปดาห์ ส่วนช่วงวันหยุดอีก ๓ วันนั้น ก็มีโอกาสได้ไปตรวจรักษาผู้ป่วยชนบทที่ต่างจังหวัด เรียกว่าทุกสัปดาห์ได้สัมผัสความเหมือนและความแตกต่างของผู้ป่วยทั้ง ๒ กลุ่มนี้เป็นเรื่องแปลกแต่จริงที่พบว่าผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ ...
  • โรคกรดไหลย้อนมั่วๆ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ปัจจุบันยาลดกรดในกระเพาะอาหารขายดีเป็นเทน้ำเทท่า ส่วนใหญ่มีการโฆษณากันอย่างแพร่หลาย พร้อมกันนั้นก็เกิดโรคกรดไหลย้อนแพร่ระบาดไปทั่ว แม้แต่ชาวบ้านที่ห่างไกลความเจริญก็พบว่ามีไม่น้อยที่ต้องกินยาลดกรดอย่างแรงเป็นประจำ เพราะแพทย์สั่งให้และบอกว่าเป็นโรคนี้ แต่พอให้ผู้ป่วยอธิบายว่าโรคกรดไหลย้อนคืออะไรและมีอาการอย่างไร ทำไมต้องกินยาแบบนี้ ตัวผู้ป่วยเองก็มักจะตอบไม่ได้โรคกรดไหลย้อน (GERD) คือ ...
  • เรียนแล้วเสียสุขภาพจิต

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าการศึกษาเล่าเรียนจะต้องมุ่งที่การพัฒนาให้เด็กและเยาวชนมีความเจริญทั้งทางด้านความรู้ความสามารถรวมถึงการมีสุขภาพจิตที่ดี สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม เรียกว่าต้องพัฒนาทั้งไอคิว และอีคิว ไอคิว = IQ = Intelligence Quotient คือ ระดับสติปัญญาความรู้ความสามารถ อีคิว = EQ = ...
  • จำเป็นต้องใช้ยาหลายขนานหรือไม่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 382 กุมภาพันธ์ 2554
    จำเป็นต้องใช้ยาหลายขนานหรือไม่ปัจจุบันนี้ สถานการณ์ด้านการบริการสุขภาพพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้น ทั้งในสถานพยาบาลของรัฐ เอกชน หรือแม้กระทั่งคลินิกต่างๆ ทำให้อาจกล่าวได้ว่า “เมื่อรู้สึกไม่สบายอะไรก็ต้องไปพบแพทย์” เมื่อไปถึงสถานพยาบาลแล้วก็ย่อมต้องได้ยากลับบ้าน มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่แพทย์จะจ่ายให้ เพราะเวลาไม่ได้ยา ผู้ป่วยมักจะสงสัยและรู้สึกว่าไม่ได้รับการรักษา ทั้งๆ ...
  • กระดูกเสื่อม กระดูกพรุน กระดูกอ่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    กระดูกเสื่อม กระดูกพรุน กระดูกอ่อนถ้าจะกล่าวถึงโรคที่เกี่ยวกับกระดูกแล้ว สิ่งที่พูดถึงกันมากคือ กระดูกเสื่อม กระดูกพรุน และกระดูกอ่อน ซึ่งอย่าเหมารวมว่าเป็นโรคเดียวกันหรือมีการรักษาแบบเดียวกัน แต่ละอย่างก็มีลักษณะและการรักษาที่แตกต่างกันไป แต่กลับถูกนำมาใช้เพื่อส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ประเภทเสริมกระดูกกันอย่างแพร่หลาย ปัจจุบันพบว่ามีการให้ข้อมูลและแนะนำให้กินแคลเซียม ...
  • การแพทย์ไฮเทค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    คำว่า การแพทย์ไฮเทค หมายถึง การแพทย์ยุคใหม่ที่มีบริการตรวจรักษาโดยเน้นเทคโนโลยีหรือเครื่องมืออุปกรณ์สมัยใหม่ ซึ่งถือว่าเป็นความก้าวหน้าที่ปฏิเสธไม่ได้ เพราะมีประโยชน์มากมาย และยังทำให้การตรวจวินิจฉัยแม่นยำและรวดเร็วขึ้นนวัตกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่องมือตรวจพิเศษสำหรับอวัยวะต่างๆ เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์แบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ...
  • บทบาทของญาติผู้ป่วย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    ในการรักษาพยาบาลผู้ป่วย เรามักไม่ค่อยได้ยินคนพูดถึงประเด็นความสำคัญของญาติ ทั้งๆ ที่มีความสำคัญไม่น้อยต่อการรักษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับผู้ป่วยที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลและมีอาการหมดสติ หรือมีปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความจำ ความคิดไม่สามารถสื่อสารกับแพทย์และพยาบาลได้อย่างถูกต้องกรณีเช่นนี้มักพบในผู้ป่วยหนัก กำลังจะเสียชีวิต หรือบางรายก็ไม่อาจคาดเดาได้ว่าจะเสียชีวิตหรือไม่ ...
  • อย่าหลงงมงายหมอและยา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2554
    ตั้งชื่อเรื่องไว้เช่นนี้ถือว่าค่อนข้างแรงสำหรับคนทั่วไป แต่สำหรับผู้ที่เคยรู้จักผู้เขียนหรือเคยอ่านหนังสือ “หมอปากหมา” ซึ่งเป็นหนังสือที่เขียนถึงความจริงในด้านต่างๆ ของวงการแพทย์ จะเข้าใจผู้เขียนมากขึ้นว่าต้องการจะสื่อถึงความมีสติในการใช้ยาทั้งแพทย์และผู้ป่วย เป็นแนวคิดในมุมมองของผู้เขียนที่สะท้อนภาพความแตกต่างโดยเน้นหลักการใช้ยาเท่าที่จำเป็นจริงๆกล่าวให้เข้าใจง่ายๆ คือ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa