Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » พญ.ทิวาพร วุฒิสารชวกุล

พญ.ทิวาพร วุฒิสารชวกุล

  • เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 76 สิงหาคม 2528
    เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ266. อาเจียนอาการอาเจียนของเด็กมิใช่เกิดจากโรคไปเสียทั้งหมด การอาเจียนเอาอาหารที่กินมากเกินไปออกมานั้น เรียกได้ว่าเป็นการป้องกันตัวอย่างหนึ่ง ผู้ที่ควรจะรู้ดีที่สุดว่าลูกอาเจียนเพราะกินมากเกินไปหรือเปล่า คือ คุณแม่ เวลาเด็กได้กินของโปรด อาจเผลอกินมากเกินไปจนอาเจียนออกมาในภายหลังได้ ถ้าเด็กอาเจียนด้วยสาเหตุนี้ แกจะไม่มีไข้ ...
  • เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 75 กรกฎาคม 2528
    เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ263. เด็กนอนดึกความคิดที่ว่า เมื่อถึงสองทุ่มเด็กต้องนอนนั้น สมัยนี้เป็นไปได้ยาก ครอบครัวทั่วไปในปัจจุบันจะพักผ่อนสังสรรค์กันตอนกลางคืน เพราะฉะนั้นเด็กซึ่งเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวย่อมอยากร่วมวงด้วยเป็นธรรมดาถ้าเด็กไม่ได้นอนตอนบ่าย แกคงนอนตั้งแต่สองทุ่ม แต่วันไหนนอนตอนบ่าย หนูอาจจะอยู่ถึงสามทุ่มครึ่ง ได้เล่นกับคุณพ่ออย่างสนุกสนานกันทั้งคู่ ...
  • เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 74 มิถุนายน 2528
    เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ259. ไม่ยอมกินข้าวมีคุณแม่จำนวนไม่น้อยที่ชอบบ่นว่า ลูกไม่ยอมกินข้าว เมื่อถามว่าอยากให้ลูกกินข้าวมากสักแค่ไหน คำตอบก็คือ ตามตำราบอกว่า เด็กวัยนี้ต้องกินข้าวถ้วยครึ่ง หรือว่าเด็กข้างบ้านเขากินตั้งสองชาม แต่ลูกของตนควรกินข้าวเท่าไรจึงจะพอดีนั้นคุณแม่มักไม่รู้ เด็กบางคนกินข้าวเพียงมื้อละครึ่งถ้วย แต่น้ำหนักเพิ่มเฉลี่ยวันละ 5 กรัม ...
  • เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพแวดล้อม255. สร้างสถานที่ให้เด็กเล่นกันเถอะชีวิตประจำวันของเด็กในวัยนี้ ส่วนใหญ่ใช้เวลาไปในการเล่นมากที่สุด เด็กจะค้นพบความสามารถพิเศษของตนเองในระหว่างการเล่น พ่อแม่ต้องให้ความสำคัญกับการเล่นของเด็ก ตอนแรกคอยสังเกตดูว่าเด็กชอบของแบบไหน และคอยสนับสนุนการเล่นที่เด็กชอบเด็กวัยนี้แทบทุกคน ชอบการละเล่นที่ใช้ร่างกายทั้งตัว เราควรส่งเสริมทักษะการออกกำลังกายของเด็ก ...
  • เด็กอายุหกเดือนถึงเจ็ดเดือน(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 43 พฤศจิกายน 2525
    เด็กอายุหกเดือนถึงเจ็ดเดือน(ต่อจากฉบับที่แล้ว) สภาพผิดปกติ171.ผื่นแพ้ (Eczema) และผดผื่นคัน (strophulus)เด็กส่วนใหญ่เมื่ออายุเกิน 5 เดือน ผดผื่นคันจะลดน้อยลง แต่เด็กบางคนอายุเกิน 6 เดือนแล้ว ยังเป็นผื่นอยู่ก็มี มีผื่นแดงตามหลังใบหู ...
  • เด็กห้าเดือนถึงหกเดือน(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 33 มกราคม 2525
    การเลี้ยงดู137 เลี้ยงด้วยนมวัวเมื่อเด็กอายุได้ 5-6 เดือน ถึงแม้คุณแม่จะให้กินนมมากเกินไป เด็กจะไม่เป็นโรคเกลียดนมเหมือนเมื่อก่อน ...
  • เด็กห้าเดือนถึงหกเดือน(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 32 ธันวาคม 2524
    ลักษณะของทารก135 ลักษณะของทารกระยะ 5-6 เดือนเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนที่แล้ว เด็กอายุ 5-6 เดือนจะเคลื่อนไหวได้คล่องขึ้น มีกำลังมากขึ้น ...
  • การเลี้ยงดู (ครึ่งเดือนถึงหนึ่งเดือน)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 12 เมษายน 2523
    ครึ่งเดือนถึงหนึ่งเดือนการเลี้ยงดู 49. เลี้ยงด้วยนมวัวถ้าไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้และจำเป็นเลี้ยงด้วยนมวัวล้วนๆ ข้อควรระวังประการแรก คือ อย่าให้นมมากเกินไป สำหรับเด็กอายุ 2 สัปดาห์ ถึงหนึ่งเดือนนี้ ไม่ควรให้นมแต่ละครั้งเกิน 120 ซีซี. ถึงแม้เด็กจะดูดจนหมดแล้ว และดูท่าทางอยากได้อีกโดยดูดขวดเปล่าจุ๊บๆ คุณไม่ควรเพิ่มนมให้ แต่ให้น้ำสุกหรือน้ำสุกผสมกลูโคสประมาณ 20 ซี.ซี.แทน ...
  • สภาพผิดปกติ (หนึ่งสัปดาห์ถึงครึ่งเดือน)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 11 มีนาคม 2523
    สภาพผิดปกติ (หนึ่งสัปดาห์ถึงครึ่งเดือน) 42. เลือดออกทางสะดือเด็กบางคนเมื่อสะดือหลุดและแห้งไประยะหนึ่งแล้ว กลับแฉะขึ้นมาอีก และเมื่อเอาสำลีซับจะมีเลือดติดออกมาระยะเวลาที่สะดือเด็กจะแห้งก็มี เด็กบางคนจะมีก้อนเนื้อแดงเรื่อขนาดเท่าถั่วแดงอยู่ในสะดือ ซึ่งไม่ใช่เรื่องร้ายแรงอะไร ทิ้งไว้จะหายไปเองตามธรรมชาติ การที่สะดือแห้งช้าหลังจากที่สะดือหลุดแล้ว ไม่ได้หมายความว่า ...
  • ขอนมคนอื่น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 9 มกราคม 2523
    34. ขอนมคนอื่นในสมัยก่อนถ้านมแม่ไม่พอ เรามักจะหาแม่นมให้ลูก แต่ในปัจจุบันแม่ส่วนใหญ่จะหันไปพึ่งนมวัวแทน เพราะการขอนมคนอื่นนั้นยุ่งยาก และคุณแม่เองก็คิดว่าเลี้ยงด้วยนมผง ดีกว่าเลี้ยงด้วยนมคนอื่น อันที่จริงแล้ว ทารกแรกเกิดถึง 3 เดือน ควรได้รับการเลี้ยงด้วยนมคนจะดีที่สุด ในบางประเทศ จะมีการจ้างแม่นมประจำโรงพยาบาลในบางประเทศมีระบบรวบรวมนมแม่ที่เหลือจากบรรดาแม่ที่มีนมมากมารวมไว้ที่โรงพยาบาล ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa