Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ » เด็ก

เด็ก

  • ถ้าอยากมีลูกหัวดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 104 ธันวาคม 2530
    บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้7. อย่าดีแต่พูด จงปฏิบัติมารดาของผมจบการศึกษาจากโรงเรียนมัธยมสตรีหมายเลขหนึ่งของเมืองเกียวโต (DAIICHI JOGAKKO) และมาศึกษาต่อที่วิทยาลัยฝึกหัดครูสตรีโตเกียว ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของมหาวิทยาลัยโอซาโนมิศุ (OCHANOMIZU UNIVERSITY) ในปัจจุบัน นับว่าเป็นสตรีที่ได้รับการศึกษาสูงมากทีเดียวในสมัยก่อน ทุกวันนี้ท่านมีอายุ 88 ปีแล้ว ...
  • เด็กสามขวบถึงสี่ขวบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 104 ธันวาคม 2530
    สภาพแวดล้อม322. ของเล่นเด็กวัยนี้ถ้าพ่อแม่ไม่ตามใจจนเกินไป คงไม่มีของเล่นมากนัก เด็กผู้ชายอาจอะมีเพียงรถยนต์ หุ่นยนต์แท่งไม้ต่อรูป เด็กผู้หญิงก็มีตุ๊กตาและชุดบ้านตุ๊กตาเท่านั้น ทั้งนี้เพราะเด็กวัยนี้เบื่อของเล่นเร็ว และทำพังหมดการที่เด็กทำของเล่นพังเสียหายนั้น อย่าเหมาเอาว่าเป็นเพราะความอยากรู้อยากเห็นแต่เพียงอย่างเดียว อันที่จริงของเล่นคือเครื่องมือสำหรับเล่นกับเพื่อน ถ้าซื้อไม้แบตฯให้ ...
  • ถ้าอยากมีลูกหัวดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้6. หัวดีหรือไม่ดีอยู่ที่กรรมพันธุ์หรือ?คนเราเกิดมามีเซลล์สมอง 14,000 ล้านเซลล์เท่าเทียมกัน สิ่งที่กำหนดว่าใครหัวดีหรือไม่ดีอยู่ที่ตัวเชื่อมระหว่างเซลล์สมอง ซึ่งเรียกว่า จุดประสานประสาท (Synapse) ถ้าจุดประสานประสาทหรือสวิตช์สมองนี้สับเร็วและสื่อดี คนนั้นก็หัวดี ความเร็วของการสับสวิตช์และสภาพของสื่อสมองนี้จะถูกกำหนดหลังจากเด็กถือกำเนิดออกมาแล้ว ...
  • เด็กสามขวบถึงสี่ขวบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    การเลี้ยงดู320. หนังสือภาพแบบไหนดีเราไม่มีการสำรวจสถิติออกมาว่าหนังสือเล่มแรกที่เด็กได้ดูนั้นมีอิทธิพลอย่างไรต่อชีวิตของเด็กในภายหลัง ในความเป็นจริง เด็กบางคนซึ่งสมัยอายุ 3-4 ขวบเคยดูแต่หนังสือซึ่งอาจจะไม่ดีนัก หรือบางคนไม่เคยมีหนังสือเลยก็เติบโตขึ้นมาเป็นผู้เก่งกล้าสามารถในภายหลังได้เราไม่มี “สารบบ” ของหนังสือซึ่งควรให้เด็กอ่าน เพื่อที่จะได้เติบโตขึ้นมาเป็นคนดีคนเก่ง ...
  • ถ้าอยากมีลูกหัวดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้------------------------------------------------------------4. เรียนเท่าไรก็หัวไม่ดีถ้าอยากมีลูกหัวดีก็ทำให้สวิตช์สมองทำงานเร็ว และสื่อดี เด็กก็จะหัวดีก่อนอื่น สิ่งที่เราจะต้องทำคือการฝึกสมองของเด็กอย่างไรก็ตาม การเรียนการสอนในโรงเรียนหรือการเรียนพิเศษมิได้ช่วยฝึกสมองเด็กแม้แต่น้อย ...
  • กว่าจะถึงชั้นประถม...ก็สายเสียแล้ว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    ตอนที่ 4เรื่องเหลวไหลหรือเรื่องจริงกันแน่1. ที่พูดกันว่าเด็กที่เริ่มเรียนตั้งแต่อายุยังน้อยจะโง่ จะเบื่อการเรียน จะกลายเป็นคนขี้เกียจเรียนในระยะยาว และเมื่อเข้ามหาวิทยาลัยก็จะเรียนแบบขอไปที ทั้งซิดนีย์ เลดสัน และเกลน ดอนแมนยืนยันว่าไม่เป็นความจริงคนที่โง่ในระดับปัญญาอ่อน (Mental retardation) นั้น ทางวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วว่ามีความบกพร่องที่ยีน (Gene) มาแต่กำเนิด ...
  • เด็กสามขวบถึงสี่ขวบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    การเลี้ยงดู318 เล่นกับเพื่อนไม่ได้เด็กที่ถูกเลี้ยงดูอยู่แต่ในบ้าน เมื่ออายุ 3 ขวบ ยังเล่นกับเพื่อนวัยเดียวกันไม่เป็น ถ้าปล่อยให้อยู่ด้วยกันเด็กจะแย่งของเล่นกันเอง ครั้งแรกที่มีเพื่อนมาเล่นที่บ้าน เด็กจะไม่ยอมให้เพื่อนยืมของเล่น ไม่ว่าเพื่อนยื่นมือหยิบอะไร แกจะเอาคืนทันที เมื่อเพื่อนไม่สนุกเพื่อนก็กลับบ้าน คราวนี้เด็กกลับร้องไห้ไม่ยอมให้เพื่อนกลับเด็กอายุ 3 ขวบ ซึ่งไม่เคยออกไปเล่นที่อื่น ...
  • ถ้าอยากมีลูกหัวดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 101 กันยายน 2530
    บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้2. ทำไมจึงกลายเป็นเด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีเซลล์สมองของมนุษย์ทุกคน มีจำนวนเท่ากันไม่เฉพาะแต่เด็กทารกแรกเกิดในวัยเดียวกันเท่านั้น แม้จะเปรียบเทียบระหว่างเด็กอ่อนกับผู้ใหญ่ จำนวนเซลล์สมองก็ไม่แตกต่างกันนัก คือมีประมาณ 14,000 ล้านเซลล์อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจำนวนเซลล์จะเท่ากัน แต่ขนาดของสมองผู้ใหญ่ย่อมใหญ่กว่ามาก น้ำหนักสมองของเด็กอ่อนมีเพียง 400กรัม ...
  • เด็กสามขวบถึงสี่ขวบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 101 กันยายน 2530
    การเลี้ยงดู316 การลงโทษการลงโทษ คือการให้ผู้กระทำผิดรับผิดชอบในการกระทำของตน แต่เราจะให้เด็กอายุ 3 ขวบ รับผิดชอบเมื่อกระทำผิดนั้นย่อมเป็นไปไม่ได้เมื่อเด็กเล็กทำสิ่งที่อันตราย เช่น ปีนป่าย เล่นไฟ ฯลฯ เราตีเด็กเพื่อให้เด็กจดจำความเจ็บเอาไว้ จะได้ไม่ทำอีก นี่คือเหตุผลที่เราตีเด็ก ความจริงหน้าที่ในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ไม่เปิดโอกาสให้เด็กเล็กทำในสิ่งที่อันตรายคือหน้าที่ของพ่อแม่ ...
  • เด็กสามขวบถึงสี่ขวบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    การเลี้ยงดู314 ฝึกลูกให้แข็งแรงเมื่อเด็กโตขึ้นอายุเกิน 3 ขวบ การฝึกร่างกายของเด็กย่อมยุ่งยากขึ้น เพียงฝึกกายบริหารและสูดลมหายใจลึกๆเท่านั้นไม่เพียงพอ เด็กควรได้ออกไปวิ่งเล่น กระโดดโลดเต้น และส่งเสียงดังอยู่กลางแจ้งซึ่งเป็นสถานที่ปลอดภัย ไม่มีรถยนต์แล่นไปมาน่าอันตราย เป็นที่น่าเสียดายที่ว่าเมื่อเมื่อขยายใหญ่ขึ้น ที่ว่างกลางแจ้งสำหรับเด็กก็น้อยลงไปเรื่อยๆ จะให้เด็กวิ่งเล่นไล่จับกัน ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa