Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » คนกับงาน

คนกับงาน

  • แบกอย่างไรไม่ให้เจ็บ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    แบกเป็นกิจกรรมที่ทำกันอยู่ทุกวัน แบกในที่นี้มาจากคำภาษาอังกฤษว่า carrying ซึ่งรวมถึง การเคลื่อนย้ายวัตถุในแนวราบด้วยการเดิน ไม่ว่าจะเป็นการถือวัตถุด้วยมือ หรือแบกด้วยบ่า คอ ไหล่ การหาบ ทูนวัตถุด้วยศีรษะ เป็นต้น การแบกสามารถก่อให้เกิดอุบัติเหตุขณะทำงานและเป็นสาเหตุให้เกิดการบาดเจ็บสะสมได้ เช่นเดียวกับการยก การดึงและดันวัตถุ แต่ที่สำคัญ ...
  • แสงกับอาการเมื่อยล้าของตาเมื่อทำงานกับคอมพิวเตอร์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งที่ทำงาน โรงเรียน และบ้าน ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ในการใช้คอมพิวเตอร์ จะคำนึงถึงขนาดของโต๊ะ เก้าอี้ และการจัดวาง คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากขนาดและการจัดวางที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่ส่งผลทำให้เกิดอาการปวด ตึง และการลดลงของประสิทธิภาพของการทำงาน แต่ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่สำคัญอีก และต้องจัดให้เหมาะสม ...
  • สุขภาพดีกับงานหนักงานเบา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    บางคนอาจคิดว่าการทำงานกับการมีสุขภาพดีเป็นของคู่กันไม่ได้ ซึ่งคงไม่ปฏิเสธว่ากิจกรรมหนักในบางอาชีพ เช่น งานทำไร่ งานเลื่อยไม้ หรืองานเหมืองแร่ อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพหรือการบาดเจ็บได้ เนื่องจากต้องใช้พลังงานและกำลังกายมากเกินกว่าที่ร่างกายจะสามารถทำได้ในหนึ่งวันในขณะที่กิจกรรมเบามากในบางอาชีพ เช่น ทำคอมพิวเตอร์ นั่งประชุม หรืองานรับโทรศัพท์ อาจก่อให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคอ้วน ...
  • สัดส่วนของโต๊ะทำงานกับการจัดวางของบนโต๊ะทำงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 306 ตุลาคม 2547
    สัดส่วนของโต๊ะทำงานกับการจัดวางของบนโต๊ะทำงานนอกจากการจัดจอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเมาส์ให้พอเหมาะพอดีแล้ว พบว่าบนโต๊ะทำงาน ยังมีอุปกรณ์อีกจำนวนหนึ่งที่วางอยู่บนโต๊ะ ทั้งที่จำเป็นและไม่จำเป็น มีทั้งใช้บ่อยและนานๆ ครั้งจะถูกนำมาใช้ และมีทั้งน้ำหนักมากและน้อย จึงต้องจัดวางอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านั้นให้เหมาะสม มิเช่นนั้นอาจทำให้การทำงานของเราผิดพลาด หรือไม่สะดวก ไม่เต็มประสิทธิภาพ ...
  • ทำงานอย่างไรจึงไม่ล้า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 305 กันยายน 2547
    ทำงานอย่างไรจึงไม่ล้าเป็นอาการอย่างหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นได้บ่อยในเวลาทำงาน เกิดขึ้นได้ทั้งงานที่ต้องใช้แรงงานหนักเช่น งานยกของ งานดึงและดัน และงานเบาที่ต้องอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ หรือต้องทำงานเบานั้นซ้ำซาก ยกตัวอย่างเช่น การนั่งทำงานคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานเกิน 2 ชั่วโมงต่อเนื่องขึ้นไปอาจทำให้เกิดการล้าขึ้นได้ที่กล้ามเนื้อคอบ่า หลัง ข้อศอกและมือ ซึ่งอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อและข้อต่อได้ ...
  • การจัดวางแป้นพิมพ์ และเมาสอย่างไรให้เหมาะสม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 304 สิงหาคม 2547
    นอกจากการจัดวางจอคอมพิวเตอร์ เอกสารที่พิมพ์ โต๊ะ และเก้าอี้ให้เหมาะสม ยังมีความจำเป็นอย่างที่ต้องจัดวางแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องเหมาะสมกับอุปกรณ์งานที่ทำ ตลอดจนตัวผู้ใช้เองเพราะการจัดวางที่ไม่เหมาะสมทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง หรือเกิดการบาดเจ็บของส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้ เช่น เส้นประสาทและเอ็นรอบอุโมงค์ข้อมืออักเสบ เอ็นข้อศอกอักเสบ กล้ามเนื้อ ...
  • ยืนทำงานอย่างไรให้ไร้โรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 303 กรกฎาคม 2547
    ยืนทำงานอย่างไรให้ไร้โรคยืน เป็นท่าทางที่ใช้ในชีวิตประจำวันและใช้มากในกลุ่มคนที่ต้องยืนประกอบอาชีพ ยกตัวอย่างเช่น การยืนเฝ้ายาม การยืนขายของ หรือการยืนทำงานในโรงงาน เช่น ยืนขณะประกอบอุปกรณ์ต่างๆ ยืนแกะกุ้งหรือชำแหละไก่ เป็นต้น และบางอาชีพต้องยืนตรงให้สวยงาม เช่น พนักงานขายสินค้าในห้าง พนักงานเหล่านี้ถ้าไม่เดินให้บริการลูกค้าก็ต้องยืนตรงประจำตำแหน่ง ...
  • เก้าอี้เลือกปรับอย่างไรจึงเหมาะสม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 302 มิถุนายน 2547
    เก้าอี้ เลือกปรับอย่างไรเก้าอี้เป็นอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้ในการนั่งทำงาน การเลือกและการปรับเก้าอี้ให้เหมาะสมกับงานและร่างกายของผู้ที่ใช้ เป็นสิ่งที่จำเป็น มิเช่นนั้นอาจทำให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น อาการชาที่ขา ปวดหลัง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อบ่า ตลอดจนประสิทธิภาพของการทำงานลดลง หรืออาจทำให้เกิดอุบัติเหตุในขณะทำงานเก้าอี้กับปัญหาปวดเก้าอี้กับอาการปวดล้า ชา เมื่อยน่อง บริเวณด้านหลังเข่า ...
  • ดึงและดันอย่างไรจึงปลอดภัย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ดึงและดันอย่างไรจึงปลอดภัยผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะการเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยการดึงและดันมีความจำเป็นมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีการใช้อุปกรณ์ช่วย ในการทำงานมากขึ้นแทนการแบกหรือหามด้วยแรงคน เช่น การดึงหรือดันรถเข็นของ การดึงและดันระหว่างการทำงานอาจทำให้เกิดบาดเจ็บได้ เช่น ปวดหลัง หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน ปวดกล้ามเนื้อแขนและลำตัว หรือการบาดเจ็บจากการลื่นล้ม ...
  • ยกอย่างไรไม่ให้ปวดหลัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    ยกอย่างไรไม่ให้ปวดหลังไม่มีใครปฏิเสธว่าปวดหลังเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในคนทำงาน โดยเฉพาะผู้ที่ต้องใช้แรงแบกหาม เคลื่อนย้ายวัตุในการทำงานปัญหาปวดหลังมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตค่อนข้างสูง ถ้ามีอาการมากจะสิ้นเปลือง ทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษา การป้องกันอาการปวดหลังที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน น่าจะเป็นทางออกที่ดีที่สุด การป้องกันอาการปวดหลังทำได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่ทำให้เกิดอาการปวดหลัง ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • บทบรรณาธิการ
  • บทสัมภาษณ์พิเศษ
  • บนเส้นทางชีวิต
  • บริหารกายคลายปวดเมื่อย
  • บริหารร่างกาย
  • บอกเล่าเก้าสิบ
  • บันทึกการเดินทาง
  • บันทึกจากผู้อ่าน
  • บันทึกสุขภาพดีทั่วหน้า
  • บันทึกเวชกรรม
  • บุคลิกภาพ
  • ประสบการณ์รอบทิศ
  • ปริศนาคลินิก
  • ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
  • ปัจฉิมพากย์
  • ‹‹
  • 5 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa