Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » พืช-ผัก-ผลไม้

พืช-ผัก-ผลไม้

  • จำปา : พระยาแห่งดอกไม้ของคนไทยสมัยก่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 251 มีนาคม 2543
    จำปา : พระยาแห่งดอกไม้ของคนไทยสมัยก่อน" อะไรในโถ ส้มโอปอก อะไรในจอก ข้าวตอกนั้นอะไรในขัน มะดันแช่ อะไรในแคร่ ไหเหล้าไหยา อะไรในผ้า จำปาซ่อนกลิ่น ...ฯลฯ"ข้อความที่ยกมาขึ้นต้นบทความตอนนี้ คัดมาจาก บทเด็กเล่นชื่อ "อะไรในโถ" จากหนังสือบทกลอนกล่อมเด็กฉบับสอบ ของหอพระสมุดวชิรญาณ ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓ ...
  • จำปี : ไม้ดอกในดวงใจคนไทยหลายๆ คน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 250 กุมภาพันธ์ 2543
    จำปี : ไม้ดอกในดวงใจคนไทยหลายๆ คน "โนเนเอยโนนาดสีชมพูปูลาด จะพาดไว้ต้นอะไรดี สีชมพูปูลาด พาดไว้ที่ต้นจำปี..."ที่ยกมาขึ้นต้นบทความตอนนี้ คือ ส่วนหนึ่งของบทกลอนกล่อม เด็กชื่อ "โนเน" คัดมาจากหนังสือบทกลอนกล่อมเด็ก ฉบับสอบของหอพระสมุดวชิรญาน ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ...
  • ผักเป็ด : ผักสามัญที่ไม่ไร้ความสำคัญ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 248 ธันวาคม 2542
    ผักเป็ด : ผักสามัญที่ไม่ไร้ความสำคัญเมื่อราวกลางเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ผู้เขียนได้อ่านบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการและเคยเป็นนักการเมืองที่มีชื่อเสียงด้วย ได้ให้ความเห็นว่า ขณะนี้รัฐบาลไทยกำลังอยู่ในช่วงที่เรียกว่าเป็น "เป็ดพิการ" จะทำอะไรก็ติดขัดไปหมด เพราะอยู่ในช่วงใกล้กับการเลือกตั้งครั้งใหม่ ทำให้บรรดาพรรคการเมืองต่างๆ ทั้งฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลเอง พยายามหาคะแนนนิยมแข่งกัน ...
  • พฤกษ์ : ผักยืนต้นพื้นบ้านไทยหลากหลายชื่อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 247 พฤศจิกายน 2542
    พฤกษ์ : ผักยืนต้นพื้นบ้านไทยหลากหลายชื่อ" โพธิ์พระยาท่าตลิ่งล้วน ล้อเกวียนโพธิ์ไผ่ไม้เต็งตะเคียน ตะขบ บ้างซึก ซาก กระบากกระเบียนกระเบา กระแบก กระบก ...
  • มะเดื่ออุทุมพร : ต้นไม้จากตำนานมาสู่สามัญชน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 246 ตุลาคม 2542
    มะเดื่ออุทุมพร : ต้นไม้จากตำนานมาสู่สามัญชน"มะเดื่อมันไม่ค่อยดี เพราะมีแมลงหวี่เข้าไปอยู่ข้างใน"เนื้อร้องท่อนหนึ่งของเพลงพื้นบ้านภาคกลางในอดีตที่ยกมาข้างบนนี้ แสดงให้เห็นความรู้และทัศนะที่คนทั่วไปมีต่อมะเดื่อ ซึ่งเป็นต้นไม้ดั้งเดิมพื้นบ้านในท้องถิ่น พบได้ทั่วไปในที่ราบลุ่มภาคกลาง เนื่องจากมะเดื่อมีลักษณะพิเศษ คือ พบแมลงหวี่อยู่ในผลสุกเสมอ ทำให้มองมะเดื่อว่า ...
  • ผักหวานป่า : สุดยอดผักของไทยและเอเชียอาคเนย์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 243 กรกฎาคม 2542
    ผักหวานป่า : สุดยอดผักของไทยและเอเชียอาคเนย์คอลัมน์ที่ผู้เขียนรับผิดชอบอยู่นี้ ได้นำเสนอเรื่องราวของพืชที่คนไทยใช้ปรุงอาหารในฐานะผักติดต่อกันมาหลายสิบตอนแล้ว แต่ยังไม่เคยนำผักแต่ละชนิดมาเปรียบ เทียบกันเลยว่ามีความดีเด่นหรือ ได้รับความนิยมมากน้อยกว่ากันอย่างไร ทั้งนี้เพราะเชื่อว่าผักแต่ละชนิดต่างก็มีคุณค่าในตัวเองที่แตกต่างกันออกไป ยากที่จะนำมาแข่งขันกันได้ ...
  • ผักหวานบ้าน : ความหวานจากผักพื้นบ้านดั้งเดิม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 242 มิถุนายน 2542
    ผักหวานบ้าน: ความหวานจากผักพื้นบ้านดั้งเดิม"ยามรัก น้ำต้มผัก ก็ว่าหวาน"คำเปรียบเปรยที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นสำนวนไทยเดิมที่แพร่หลายมานานในหมู่คนไทยภาคกลาง ใช้เปรียบเทียบกับความรู้สึกของผู้ที่อยู่ในห้วงรักว่านอกจากจะมีอาการผิดปกติต่างๆ (เช่น ตาบอด หูหนวก ฯลฯ) แล้ว ยังเกิดความรู้สึกบางอย่างไปในทางมองโลกในแง่ดีมากๆ อีกด้วย เช่น ได้เห็นหน้าคนรัก (หรือได้ยินเสียง) ...
  • มะยม : ความเปรี้ยวที่เป็นมงคลของชาวไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 241 พฤษภาคม 2542
    มะยม : ความเปรี้ยวที่เป็นมงคลของชาวไทยในบรรดาต้นไม้ที่มีความผูกพันจนทำให้ประทับใจมาตั้งแต่เด็ก สำหรับผู้เขียนนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด บางชนิดเป็น ความรู้สึกเฉพาะตัว แต่บางชนิดก็เป็นความรู้สึกร่วมกันกับผู้คนอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ในบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมเดียวกัน เช่น เป็นเด็กในชนบทภาคกลาง เมื่อกว่า ๔๐ ปีก่อนโน้น เด็กสมัยนั้นใกล้ชิดกับธรรมชาติและต้นไม้มากกว่าเด็กสมัยนี้หลายเท่า ...
  • อาหารปลอดสารพิษ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    อาหารปลอดสารพิษ มะม่วง : มะละกอช่วงนี้มะม่วงออกมาให้กินแข่งกับทุเรียน ชวนอ้วนไปตาม ๆ กัน ส่วนมะละกอนั้นก็มีอยู่คู่แผงขายผลไม้ตลอดทุกฤดูมะม่วงและมะละกอนั้นมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่มะม่วงมีสาระสำคัญน้อยกว่ามะละกอเล็กน้อย ซึ่งผลไม้ทั้งสองชนิดนี้มีเอนไซม์ชื่อ ปาเปน ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับน้ำย่อยเปปซินในกระเพาะอาหาร ดังนั้นจึงช่วยทำให้ของเสียที่เป็นโปรตีน แตกตัวได้เร็วขึ้น เช่นเดียวกับ โปรเมลิน ...
  • เล็ก ๆ น้อย ๆ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 191 มีนาคม 2538
    เล็ก ๆ น้อย ๆทุกวันนี้เกษตรกรบางกลุ่มเริ่มหันมาผลิตพืชผักปลอดสารพิษเพื่อป้อนให้กับผู้บริโภคที่ต้องการสินค้าปลอดสารพิษ และเป็นเพราะได้เห็นโทษของการใช้สารพิษอย่างมากมาย จึงได้เปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตผู้บริโภคเป็นผู้ที่สามารถกำหนดตลาดการผลิตได้ ที่พูดเช่นนี้เพราะว่าหากผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าปลอดสารมากขึ้น ผู้ผลิตที่เคยปลูกแต่ผักที่ใช้สารพิษก็จะรู้ว่าต่อไปสินค้าของเขาผู้บริโภคไม่ต้องการ ...
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa