Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » พูดจาภาษาหมอ

พูดจาภาษาหมอ

  • ซีเอ / แคนเซอร์ / คาร์ซิโนมา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    ซีเอ / แคนเซอร์ / คาร์ซิโนมา“คนไข้มีอาการอ่อนเพลีย น้ำหนักลดฮวบฮาบ มักมีสาเหตุจากอะไร?” อาจารย์ไล่ภูมินักศึกษาแพทย์“ทีบีค่ะ” นักศึกษาคนที่ 1 ตอบ“โรคคอพอกเป็นพิษครับ” คนที่ 2 ต่อ“ซีเอของตับครับ” คนที่ 3 ต่อ“เบาหวานค่ะ” คนที่ 4 ต่อถ้าจะไล่ไปเรื่อยๆคงมีสาเหตุนับสิบๆชนิด ข้างบนนี้มีภาษาหมอที่ไม่ใช่คำไทยๆอยู่ 2 คำ ได้แก่ ทีบี และ ซีเอทีบี ...
  • วัคซีน / เซรุ่ม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    วัคซีน / เซรุ่ม“เมื่อลูกของคุณอายุได้สองเดือน ควรพาไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคไอกรน คอตีบ บาดทะยัก”“เมื่อถูกตะปูตำ ถ้ายังไม่ฉีดวัคซีนมาก่อน ควรรักษาด้วยเซรุ่มกันบาดทะยัก”คุณผู้อ่านอาจคุ้นหูกับคำแนะนำเหล่านี้กันมาบ้างแล้ว แต่บางครั้งก็อาจรู้สึกสับสนกับความหมายของคำว่า “วัคซีน” และ “เซรุ่ม” กันบ้างก็ได้ฉบับนี้เรามาคุยกันถึงคำ 2 คำนี้ ดีไหมครับ!วัคซีน ...
  • ตรวจภายใน / พีวี / พีอาร์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    ตรวจภายใน / พีวี / พีอาร์“คนไข้รายนี้มีอาการเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ สงสัยจะเป็นเนื้องอกที่มดลูก เดี๋ยวผมจะทำพีวี คุณช่วยเตรียมคนไข้ให้ด้วย” หมอสั่งพยาบาลช่วย หลังจากฟังคำบอกเล่าของคนไข้สาวที่ห้องตรวจนรีเวชกรรมส่วนที่ห้องตรวจศัลยกรรม แพทย์อาวุโสผู้เป็นอาจารย์ถามนักศึกษาแพทย์เพื่อสอบความรู้ของลูกศิษย์ว่า “วิธีตรวจมะเร็งทวารหนักที่ง่าย ปลอดภัยและราคาถูก ...
  • ฟังเตียง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    ฟังเตียงคำว่า “เตียง” เป็นภาษาที่หมอนิยมใช้กันบ่อยๆเตียงในที่นี้หมายถึง เตียงผู้ป่วยใน, พูดง่ายๆ ก็คือ เตียงที่ให้ผู้ป่วยนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลโดยทั่วไป 1 เตียง รับผู้ป่วยได้ 1 คน เช่น รพ. 30 เตียงก็สามารถรับผู้ป่วยในได้อย่างเต็มที่ 30 คนเรานิยมบอกขนาดของโรงพยาบาลว่า ใหญ่เล็กขนาดไหน หรือมีความสามารถแค่ไหนด้วยจำนวนเตียงของโรงพยาบาลนั้นๆ เช่น รพ.ขนาด 10 เตียง ...
  • ระยะฟักตัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 87 กรกฎาคม 2529
    ระยะฟักตัว“อาการตุ่มใสๆขึ้นตามตัวพร้อมกับมีไข้แบบนี้ หมอตรวจดูแล้ว มั่นใจว่าเป็นอีสุกอีใสแน่” หมอให้คำวินิจฉัยพร้อมกับถามคนไข้ว่า “ระยะนี้ได้อยู่ใกล้กับคนที่เป็นอีสุกอีใสหรือเปล่า?”“เปล่าครับ!” คนไข้ตอบอย่างฉับพลัน“หมอไม่ได้หมายความว่า ในระยะ 2-3 วันนี้เท่านั้นหรอกนะ เอาเป็นว่า ระยะ 2-3 อาทิตย์ที่ผ่านมาก็แล้วกัน” ...
  • เชื้อโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 86 มิถุนายน 2529
    เชื้อโรค“คุณหมอครับ ไอ้แดงมันเป็นไข้จากอะไรกันครับ?” ลุงเขียวถามหมอที่ตรวจอาการหลานชายวัย 8 ขวบ ซึ่งมีอาการไข้สูงจัดมา 2-3 วัน“หมอตรวจดูแล้ว สงสัยอาจเป็นไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก หรือไข้ไวรัสอะไรสักอย่าง” หมอตอบคุณผู้อ่านฟังแล้วจะรู้สึกงงเหมือนลุงเขียวหรือเปล่าก็ไม่ทราบ (ลุงงงว่าไอ้แดงมันเป็นโรคอะไรมากมายตั้งหลายอย่างเชียวหรือนี่? ...
  • โรคไม่ติดเชื้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 84 เมษายน 2529
    แพทย์ พยาบาล และจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ”เดือนละคำสองคำโรคไม่ติดเชื้อ“คุณหมอครับ ถ้าเราไปกินถูกปัสสาวะของคนที่เป็นเบาหวาน เราจะกลายเป็นโรคนี้ไปด้วยไหมครับ?”“ถ้านอนใกล้กับคนที่โรคไมเกรน ...
  • โรคติดเชื้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 83 มีนาคม 2529
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ”ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำโรคติดเชื้อ“เมื่อถูกสุนัขกัด ควรชะล้างแผลด้วยสบู่กับน้ำสะอาดทันที จะช่วยลดการติดเชื้อได้”“อย่านอนหรืออยู่ใกล้ชิดกับคนที่เป็นไข้หวัดใหญ่ ...
  • ทีบี / เอกซเรย์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 75 กรกฎาคม 2528
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำทีบี / เอกซเรย์“คุณป้าเป็นไข้ ไอออกเป็นเลือดและซูบผอมลงแบบนี้ สงสัยว่าจะเป็น ทีบี หมอจึงส่งไป เอกซเรย์ ดูให้แน่ใจ”ภาษาหมอในประโยคนี้ มีอยู่ 2 ...
  • สเต๊ท/เครื่องฟังตรวจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 74 มิถุนายน 2528
    สเต๊ท/เครื่องฟังตรวจแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำเอกลักษณ์ของบุคคลที่เป็นแพทย์ก็คือ คนที่แต่งชุดเสื้อกาวน์ (ชุดหมอ) กับ “สเต๊ท” คล้องที่คออีก 1 อันสเต๊ท เป็นคำย่อมาจาก สเต๊ทโทสโคป ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • บทบรรณาธิการ
  • บทสัมภาษณ์พิเศษ
  • บนเส้นทางชีวิต
  • บริหารกายคลายปวดเมื่อย
  • บริหารร่างกาย
  • บอกเล่าเก้าสิบ
  • บันทึกการเดินทาง
  • บันทึกจากผู้อ่าน
  • บันทึกสุขภาพดีทั่วหน้า
  • บันทึกเวชกรรม
  • บุคลิกภาพ
  • ประสบการณ์รอบทิศ
  • ปริศนาคลินิก
  • ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
  • ปัจฉิมพากย์
  • ‹‹
  • 5 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa