Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » พูดจาภาษาหมอ

พูดจาภาษาหมอ

  • ห้องแลบ / ห้องชันสูตรโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 72 เมษายน 2528
    เวลาไปหาหมอที่โรงพยาบาลบางครั้งหมออาจจะเขียนใบสั่งยาให้คุณไปตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ หรืออุจจาระ ที่อีกแผนกหนึ่งซึ่งจะขอเจาะเลือดหรือขอให้คุณถ่ายปัสสาวะ หรืออุจจาระ (ตามแต่แพทย์สั่ง ) เก็บไว้ในหลอดแก้วหรือภาชนะ แล้วนำไปตรวจด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ห้องที่ทำหน้าที่ดังกล่าว อาจมีชื่อเรียกได้ต่างๆ เช่นกัน “ ห้องชันสูตรโรค “ “ ห้องวิเคราะห์โรค “ “ ห้องตรวจเลือด ...
  • รีเฟอร์/ ไม่มีเตียง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำ “ถ้าไม่จนใจจริง ๆ ผมจะไม่รีเฟอร์คนไข้เข้ากรุงเทพ ฯ เป็นอันขาด เพราะโรงพยาบาลของรัฐบาลแทบทุกแห่งจะบอกว่าไม่มีเตียง ...
  • แอดมิต, ดิสชาร์จ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 70 กุมภาพันธ์ 2528
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำบางครั้งเมื่อเราพาคนไข้ที่มีอาการหนักไปโรงพยาบาล หมอตรวจแล้วอาจสั่งพยาบาลว่า “คนไข้รายนี้จำเป็นต้องแอดมิต คุณช่วยโทรถามทางวอร์ด ...
  • อี.อาร์. ห้องปัจจุบันพยาบาล

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำอี.อาร์. เป็นคำเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่า ER ซึ่งย่อมาจากคำว่า Emergency room แปลว่า ห้องปัจจุบัน พยาบาลบางแห่งเรียกว่า ห้องฉุกเฉิน ...
  • ไอ.ซี.ยู.

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 67 พฤศจิกายน 2527
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำเป็นคำเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่าICU ซึ่งย่อมาจากคำว่า “Intensive Care Unit”ตามโรงพยาบาลใหญ่ ๆ มักจะมี “ห้อง ...
  • โอพีดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    โอพีดีแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำมาจากคำภาษาอังกฤษว่า OPD ซี่งย่อมาจากคำว่า “Out-Patient-Department” (out-patient ผู้ป่วยนอก, department แผนก ,ตึก ) หมายถึง ...
  • ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำพอได้ยินหมอพูดว่าผู้ป่วยในหรือผู้ป่วยนอก บางท่านอาจคิดว่าผู้ป่วยในคงเป็นผู้ป่วยประเภทเด็กเส้น หรือผู้ป่วยที่เป็นญาติพ่อแม่พี่น้องของคนในโรงพยาบาล ...
  • วอร์ด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 64 สิงหาคม 2527
    แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ในสถานบริการสาธารณสุข จะมีการใช้ภาษาที่เข้าใจในหมู่หมอด้วยกันเอง หากได้ทำความรู้จัก “ภาษาหมอ” ก็จะทำให้เราสื่อสารกับหมอได้ดียิ่งขึ้น คอลัมน์นี้จึงขอแนะนำ “ภาษาหมอ” เดือนละคำสองคำ วอร์ด มาจากคำภาษาอังกฤษว่า Ward หมายถึง ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ปัญหาวิชาการ
  • ปิยวาจาทางคลินิก
  • ผิวพรรณความงาม
  • ผิวสวย หน้าใส
  • ผู้สูงอายุ…สู่ชีวิตที่มีคุณภาพ
  • ผู้หญิงกับความงาม
  • พยาบาลในบ้าน
  • พันธุ์ดี..พันธุ์ศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
  • พิเศษวันเด็ก
  • พืช-ผัก-ผลไม้
  • พูดคนละภาษา
  • พูดจาประสาหมอๆ
  • พูดจาภาษายา
  • พูดจาภาษาหมอ
  • พ่อ-แม่-ลูก
  • ‹‹
  • 6 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa