-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
128
ธันวาคม 2532
หลักการให้นมผสมการเลี้ยงเด็กอ่อนและทารกด้วยนมผสมมีหลักเกณฑ์เหมือนกับการเลี้ยงด้วยน้ำนมแม่ คือ1. ผู้ให้นมอยู่ในท่าที่สบาย กอดอุ้มให้ก้นทารกอยู่บนตัก ลำตัวแนบชิดกับอก เพื่อให้ทารกได้รับการสัมผัสและความอบอุ่น2. ถือขวดนมให้เกือบตั้งตรง ไม่ให้มีอากาศในขวดนมที่ทารกจะดูดเข้าไป เพราะจะทำให้ท้องอืดได้3. ในระยะแรกเกิด เด็กอ่อนจะให้ดื่มนมครั้งละ 1-2 ออนซ์ (1-2 ขีดข้างขวด) ทุก 2-3 ชั่วโมง ต่อมา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
126
ตุลาคม 2532
อาหารทารก (ตอนที่ 2)ตารางที่ 1 ชนิดอาหารเสริมที่ทารกแต่ละวัยควรได้รับอาหารชนิดอาหาร1-3 เดือน4 เดือน5 เดือน6 เดือน7-8 เดือน 9 เดือน10-12 เดือนน้ำนมแม่กล้วยน้ำว้าสุกครูดเอาแต่เนื้อๆ อาจผสมข้าวครูดเล็กน้อย หรือข้าวครูดใส่น้ำแกงจืด น้ำซุปที่ไม่มีพริกไทยและผงชูรสข้าวครูดกับไข่แดงต้มสุก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
125
กันยายน 2532
อาหารทารก (ตอนที่ 1)ทารก คือ เด็กอายุตั้งแต่ 1 เดือนถึง 1 ปี เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองอย่างมากและรวดเร็ว จึงมีความต้องการอาหารที่มีคุณภาพ และปริมาณที่เพียงพอกับการเจริญเติบโตดังกล่าว อาหารสำคัญของเด็กวัยนี้ในระยะ 3 เดือนแรก คือ น้ำนมแม่ ถ้าแม่สุขภาพดี กินอาหารเพียงพอและมีคุณภาพ น้ำนมแม่อย่างเดียวก็เพียงพอกับความต้องการของทารกในวัยนี้เมื่อทารกอายุมากกว่า 3 เดือน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
124
สิงหาคม 2532
อาหารเด็กอ่อนเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 1 เดือน เรียกว่า “เด็กอ่อน” อาหารที่สำคัญที่สุดของเด็กวัยนี้ คือ น้ำนมแม่น้ำนมแม่เป็นยอดอาหารของเด็กทุกคน เนื่องจากในน้ำนมแม่ “มีสารอาหารครบถ้วน” ที่สามารถทำหน้าที่ทั้ง 3 ประการ คือ ให้พลังงาน สร้างส่วนประกอบของร่างกาย และควบคุมการเปลี่ยนแปลงต่างๆภายในร่างกาย ที่สำคัญ ในน้ำนมแม่ “มีภูมิต้านทานโรค” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
123
กรกฎาคม 2532
อาหาร : ปัจจัยหลักของชีวิตเมื่อกล่าวถึง “อาหาร” ทุกคนรู้จักดี สำหรับคนไทยส่วนใหญ่จะนึกถึงข้าว กับข้าว และขนม แต่แท้ที่จริงแล้ว “อาหาร” มีความหมายลึกซึ้งกว่านั้น และที่สำคัญ คือ อาหารเป็นปัจจัยหลักของชีวิต เนื่องจากอาหารให้พลังงานแก่ร่างกาย อาหารให้การเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ อาหารควบคุมการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ภายในร่างกาย และอาหารช่วยให้อวัยวะต่างๆทำงาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
121
พฤษภาคม 2532
แมลงต่อยแมลงที่ใช้วิธีต่อย ที่สำคัญได้แก่ ผึ้ง ต่อ แตน และหมาร่า ซึ่งในที่นี้จะขอรวม มดตะนอย และมดคันไฟไว้ด้วย โดยปกติถ้าแมลงเหล่านี้ต่อย จะมีอาการไม่มากนัก อาการเฉพาะที่ คือ คัน บวม และแดง แต่ผู้ที่ถูกต่อยบางราย มีความไวต่อสารพิษที่แมลงปล่อยออกมา ขณะที่มันต่อย เกิดการแพ้อย่างรุนแรง จะมีอาการเกิดทั่วร่างกาย คือ มีไข้ อาเจียน ท้องเดิน หัวใจเต้นผิดปกติ ความดันเลือดตก ซึมหรือชักหมดสติ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
120
เมษายน 2532
“งูมีพิษ” และ “งูไม่มีพิษ” เมื่อกัดจะมีความแตกต่างกันในลักษณะของแผล ดังนี้งูไม่มีพิษ จะเห็นเป็นรอยถลอก หรือรอยถาก ๆ เท่านั้นงูมีพิษ จะมี “รอยเขี้ยว” เป็นจุดสองจุด และมีเลือดออกซิบ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
119
มีนาคม 2532
งูในบ้านเรามีทั้งชนิดมีพิษและไม่มีพิษมากมายหลายชนิด “การถูกงูกัด” ถ้าสามารถตีงูและนำซากมาตรวจว่างูชนิดใดได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
118
กุมภาพันธ์ 2532
“ตะขาบ” ชอบซุกตัวอยู่บริเวณที่อับชื้นและรก เช่น ใต้ตุ่มน้ำ กองไม้ ซากต้นไม้ตาย เด็ก ๆ มักถูกตะขาบกัดบ่อย เนื่องจากซุกซนชอบรื้อค้น “พิษของตะขาบ” โดยทั่วไป ไม่ใคร่มีอาการรุนแรง ที่พบบ่อย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
117
มกราคม 2532
บ้านเราเป็นประเทศอยู่ในโซนร้อน ภูมิอากาศจึงเหมาะสมกับการมีสัตว์และแมลงมีพิษหลายชนิด จะเห็นว่าแม้บ้านเรือนจะไม่ตั้งอยู่ในที่รก ก็ยังสามารถพบสัตว์และแมลงมีพิษที่เราคุ้นเคยกัน ได้แก่ งูพิษ แมงป่อง ตะขาบ ผึ้ง ต่อ แตน มดตะนอย รวมทั้งมดคันไฟตัวโต ๆ สัตว์และแมลงดังกล่าว ถ้าต่อยหรือกัด จะปล่อยสารพิษที่อยู่ในตัวของมันเข้าสู่ร่างกายทำให้เจ็บปวด ที่สำคัญพิษเหล่านี้ทำลายเซลล์ต่าง ๆ ...