Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ผิวสวย หน้าใส

ผิวสวย หน้าใส

  • โรคผิวหนังในสมัยพุทธกาล (ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    ไข้ทรพิษ“ไข้ทรพิษ” เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่พบในสมัยพุทธกาล ขณะนี้จัดว่าเป็นโรคที่สูญพันธุ์ไปแล้วโรคไข้ทรพิษนี้นับว่ามีความสำคัญในแง่ประวัติศาสตร์ พระราชพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยาบันทึกไว้ว่า “สมเด็จพระบรมราชาที่ ๔ หน่อพุทธางกูร และสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประชวรด้วยไข้ทรพิษเสด็จสวรรคตทั้ง ๒ พระองค์....”ดังนั้น หากจะสันนิษฐานกันแล้ว ...
  • โรคผิวหนังในสมัยพุทธกาล (ตอนที่ ๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    โรคละลอกฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงโรคผิวหนังที่พระไตรปิฎกระบุว่ามีอยู่ในสมัยพุทธกาล เช่น โรคเรื้อน โรคฝี โรคฝีดาษ โรคสิว โรคกลาก โรคเริม โรคพุพอง โรคหิด โรคละลอก โรคหูด โรคคุดทะราด โดยได้กล่าวถึงโรคสิวไปแล้ว ครั้งนี้จะขอกล่าวถึงโรคผิวหนังโบราณที่ชื่ออาจไม่คุ้นหูนักในปัจจุบันบันนี้คือโรคละลอก เมื่อเอ่ยถึงโรคละลอกนี้คงต้องกล่าวถึงการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตอนเด็กๆ ...
  • โรคผิวหนังสมัยพุทธกาล (ตอนที่ ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 394 กุมภาพันธ์ 2555
    เคยอ่านกระทู้ที่มีผู้โพสต์โดยเปิดประเด็นว่า “พระสงฆ์หรือแม่ชีไปรักษาสิวจะได้ไหม”ผมจึงลองสืบค้นหาดูว่ามีโรคอะไรบ้างที่มีมาแต่สมัยพุทธกาล ได้ข้อมูลจากตำราเรียนกระบวนวิชา GB 406 หัวข้อ “โรคชนิดต่างๆ ในพระไตรปิฎก” ว่า… พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า แต่ก่อนมีโรคร้ายอยู่เพียง ๓ ชนิดคือ โรคอยาก โรคหิว และโรคชรา แต่เพราะการทำร้ายเบียดเบียนสัตว์จึงทำให้มีโรคเพิ่มขึ้นถึง ๙๘ ชนิดโรคทั้ง ๙๘ ...
  • ดูแลผิวสวย... ยามสายลมหนาวโชย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 393 มกราคม 2555
    ช่วงฤดูหนาวเช่นนี้ นับเป็นเทศกาลท่องเที่ยวเพราะท้องฟ้าแจ่มใสและอากาศเย็นสบาย แต่ก็มีโอกาสพบโรคผิวหนังบางอย่างมากขึ้นบ้าง ลองมารู้จักกับโรคเหล่านี้กันที่พบบ่อยคือหลายท่านมีผิวแห้ง บางครั้งแห้งจนแตกลายและเกิดอาการคันได้มาก บางท่านมีผื่นแดงเป็นขุยที่ร่องจมูก แก้ม เหนือคิ้ว และแนวไรผม เรียกว่าโรคเซ็บเดิร์ม (seborrheic dermatitis) ถ้าล้างหน้าฟอกสบู่บ่อยโรคนี้จะกำเริบ ...
  • โรคผิวหนัง... ผลพวงจากน้ำท่วม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า โรคที่เกิดจากน้ำท่วมที่พบบ่อยที่สุดคือโรคผิวหนัง โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ โรคผิวหนังที่พบได้บ่อยในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำท่วมโรคผิวหนังที่พบบ่อยในช่วงน้ำท่วมและหลังน้ำท่วมคือโรคน้ำกัดเท้าและโรคเชื้อราที่เท้าภาพที่ ๑ น้ำกัดเท้าและเชื้อราที่เท้าโรคน้ำกัดเท้าในช่วงแรกเกิดเพราะเท้าที่แช่น้ำนานๆ ...
  • งูสวัด... จากไวรัสอีสุกอีใส?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    งูสวัด...เกิดจากเชื้อไวรัสอีสุกอีใส& ...
  • โรคเรื้อรัง... สะเก็ดเงิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    โรคสะเก็ดเงินคืออะไรสะเก็ดเงิน (psoriasis) เป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อย เป็นได้ทุกเพศทุกวัย พบราวร้อยละ ๒ ของประชากรทั่วไป อาจมีปัจจัยทางพันธุกรรมมาเกี่ยวข้องเพราะมักพบประวัติครอบครัวโรคนี้ไม่ใช่โรคติดต่อ และไม่ได้เกิดจากภูมิแพ้โรคนี้มักเริ่มเป็นในช่วงวัยรุ่นตอนปลายและช่วงอายุ ๔๐-๕๐ ปี เพศหญิงและชายพบได้เท่าๆ กันโรคนี้อาจเป็นน้อยจนผู้ป่วยเองอาจไม่สังเกตเห็น ...
  • โรคผิวหนังกับการแพทย์ทางเลือก ตอนที่ ๕ งานวิจัยสมุนไพรไทยกับโรคผิวหนัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    การแพทย์ทางเลือกกับโรคผิวหนัง (ตอนจบ)งานวิจัยสมุนไพรไทยและข้อแทรกซ้อนจากการใช้สมุนไพรงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพรไทยรักษาโรคผิวหนังมีงานวิจัยการใช้สมุนไพรหลายชนิดที่พิสูจน์ว่าได้ผลดีในการรักษาและป้องกันโรคผิวหนัง ได้แก่สารสกัดจากพญายอ (เสลดพังพอน) รักษาเริมและงูสวัดสารสกัดกระเทียม รักษาโรคกลากและเกลื้อนสารสกัดจากน้อยหน่า รักษาเหาสารสกัดจากผักบุ้งทะเล ...
  • สิวกับเด็กเล็ก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    เด็กเล็กเป็นสิวได้ไหม ทราบกันดีว่าสิวมักพบในเด็กวัยรุ่น แต่ที่จริงแล้วโรคสิวในเด็ก พบได้ทุกช่วงอายุของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยรุ่น ...
  • แกะสิว... เสียชีวิตจริงหรือ?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 382 กุมภาพันธ์ 2554
    แกะสิว... เสียชีวิตจริงหรือ?การแกะสิวอาจทำให้เชื้อแบคทีเรียลุกลามตามหลอดเลือดดำบนใบหน้า เข้าไปสู่หลอดเลือดดำที่อยู่ใต้สมอง จนเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำที่ใต้สมองที่เรียกว่า cavernous sinus thrombosis ทำให้เกิดอาการตามัว หรืออาจตาบอด ปวดศีรษะ ดวงตาโปนเหมือนจะถลน ใบหน้าบวมเป่ง ใบหน้าเป็นอัมพาตเมื่อมีการติดเชื้อเกิดการอักเสบจะเกิดอาการบวม แดง ร้อน ตามมา ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa