Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » พันธุ์ดี..พันธุ์ศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

พันธุ์ดี..พันธุ์ศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

  • หูหนวกกับพันธุกรรม(ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ก่อนอื่นผมต้องขออภัยต่อท่านผู้อ่านเป็นอย่างยิ่ง ที่คอลัมน์ “พันธุ์ดี” หายหน้าหายตาไปเสียนาน เพราะภารกิจหน้าที่ประจำฉบับนี้ก็กลับมาทำหน้าที่อย่างเก่า ในสองตอนก่อน (ฉบับที่ 59, 60) ได้เล่าแล้วว่าหูตึงหูหนวกกรรมพันธุ์ในบางกรณีพบร่วมกับความผิดปกติอย่างอื่น เป็น “กลุ่มอาการ” เหล่านั้นดูบ้าง เพราะว่าลักษณะผิดปกติของร่างกายบางอย่างมันจะช่วยบอกเราว่าเด็กหรือคน ๆ นั้น ...
  • หูหนวกกับพันธุกรรม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    ในฉบับที่แล้วได้เล่าว่าหูหนวกที่เกิดจากความบกพร่องของพันธุกรรมมีกว่า 70 ชนิด ยีนที่เกี่ยวข้องกับการได้ยินคงจะมีจำนวนนับร้อยยีน และโรคกรรมพันธุ์ที่ทำให้หูตึงหรือหูหนวกมีการถ่ายทอด 3 แบบ คือแบบที่คนหูหนวกต้องได้รับพันธุ์ผิดปกติจากทั้งพ่อและแม่ แบบที่คนหูหนวกได้รับพันธุ์ผิดปกติจากพ่อหรือแม่ และแบบที่คนหูหนวกมักเป็นที่ชายซึ่งได้รับพันธุ์ผิดปกติมาจากแม่ ...
  • หูหนวกกับพันธุกรรม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 59 มีนาคม 2527
    คนหูตึงกับหูหนวกหรือที่ทางการแพทย์เรียกว่า คนมีความผิดปกติของการได้ยินนั้น ในประเทศไทยมีมากแค่ไหนไม่ทราบได้ แต่ผมเดาว่าคงมีมาก เพราะเห็นมารับบริการที่ “คลีนิคโสตสัมผัสและการพูด” ของภาควิชาจักษุ โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งเป็นคณะแพทยศาสตร์ที่ผมสังกัดอยู่ จนผู้ให้บริการทำไม่ทันในประเทศสหรัฐอเมริกา เขาว่ามีคนหูตึงและหูหนวกประมาณ 14 ล้ารนคน ...
  • จะให้เป็นผู้หญิงก็โตไป จะให้เป็นผู้ชายก็เล็กไป เฮ้อ!

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 กุมภาพันธ์ 2527
    โธ่แม่! ไม่น่าให้หนูมาเลย กะเทยเทียมเพศหญิงที่เกิดจากการกระตุ้นโดยฮอร์โมนเพศชายอีกกลุ่มหนึ่ง เกิดจากได้รับฮอร์โมนเพศชายจากแม่ ซึ่งอาจเกิดจากแม่ได้รับฮอร์โมนเพศชายเพื่อรักษาโรคหรือเพื่ออะไรก็แล้วแต่ หรือเกิดจากแม่มีความผิดปกติ มีการผลิตฮอร์โมนเพศชายภายในร่างกายมากกว่าปกติตัวอย่างของผู้หญิงที่ได้รับฮอร์โมนเพศชาย ที่พบบ่อยที่สุดในบ้านเราน่าจะได้แก่ โรคไขกระดูกเสื่อม ...
  • จะให้เป็นผู้หญิงก็โตไป จะให้เป็นผู้ชายก็เล็กไป เฮ้อ!

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 57 มกราคม 2527
    “เกิดเป็นหญิงแท้จริงแสนลำบาก เกิดเป็นชายยิ่งยากว่าหลายเท่า......” แต่เกิดเป็นชายที่ไม่ค่อยจริง เกิดเป็นหญิงที่ไม่ค่อยแท้ ยิ่งยากดับเบิ้ลยากฉบับนี้เราจะคุยกันเรื่อง กะเทยเทียมหญิงกะเทยเทียมเพศหญิงก็คือ คนที่มีโครโมโซมเป็น เอ็กซ์เอ็กซ์ ไม่มีอัณฑะ แต่อวัยวะเพศภายนอกมีลักษณะครึ่งๆ กลางๆ ระหว่างผู้ชายและผู้หญิง หรืออวัยวะภายในของเพศหญิง (มดลูก, ท่อมดลูก) ...
  • กะเทยก็เป็นกรรมพันธุ์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    กะเทยเทียมเพศชายมีหลายชนิดย้ำอีกทีนะครับว่า กะเทยเทียมเพศชายต้องมีโครโมโซมวายและต้องมีอัณฑะคนปกติเมื่อมีอัณฑะ อัณฑะก็หลั่งฮอร์โมนเพศชายมาทำให้อะไร ๆ ของผู้ชายมันฝ่อหดหายไป ทำให้มีอวัยวะเป็นผู้ชายอย่างที่เห็น ๆ กันอยู่นั่นแหละคนที่เป็นกะเทยเทียมเพศชาย เกิดจากกลไกความผิดปกติมากมายหลายแบบ พอจะจัดกลุ่มได้เป็น 7 กลุ่มครับกลุ่มแรก เกิดจากอัณฑะมันดื้อ ...
  • กะเทยก็เป็นกรรมพันธุ์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 55 พฤศจิกายน 2526
    (ตอนที่ 3)คอลัมน์ “พันธุ์ดี” มาขาดตอนไปเสียเกือบ 2 ปี ในหมอชาวบ้าน ปีที่ 3 ฉบับที่ 32 (ธันวาคม 2524) เพราะภารกิจด้านราชการของผู้เขียน เพื่อสนองการเรียกร้องของท่านบรรณาธิการทั้งสอง ผมจึงขอหวนกลับมาเล่าเรื่อง “กะเทยเป็นกรรมพันธุ์” ต่อไปในฉบับที่ 31 ได้เล่าเรื่อง กะเทยแท้ และในฉบับที่ 32 ได้เล่าเรื่อง กะเทยเทียม ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า หญิงมีอัณฑะ (Testicular femninzation ...
  • กะเทยก็เป็นกรรมพันธุ์ (ตอนที่ 1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 31 พฤศจิกายน 2524
    ที่จริงเรื่องกะเทยนี้ อาจารย์หมอ สุวัทนา อารีพรรค เคยเขียนลงใน “หมอชาวบ้าน” ฉบับเดือน สิงหาคม 2522 มาครั้งหนึ่งแล้ว ในชื่อเรื่อง “กะเทย ลักเพศ และรักร่วมเพศ” ซึ่งชาวบ้านมักจะเหมาเรียกปนๆ กันหมดว่า “กะเทย”“กะเทย” ตามคำเรียกของชาวบ้านที่เราพบเห็นคุ้นเคย กันที่สุด ก็คือ ผู้ชายที่แต่งตัวเป็นผู้หญิง ...
  • พันธุ์แพ้ยา (ตอนที่ 2 )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 18 ตุลาคม 2523
    พันธุ์แพ้ยา (ตอนที่ 2 )ในตอนที่แล้วได้เล่าเรื่องการแพ้ยาเพนนิซิลลิน กับยาคลอแรมเฟนิคอล ซึ่งรู้กันว่าการแพ้ยานั้นเป็นกรรมพันธุ์ ใครมีพี่น้องแพ้ยานั้น ๆ ก็ต้องระวังว่าอาจแพ้ยานั้นด้วย แต่กลไกของการแพ้ยาไม่ทราบแน่นอน ฉบับนี้จะขอเล่าเรื่องการแพ้ยาที่รู้กลไกแน่นอนต่อไปเรื่องแรกเป็นการแพ้ที่แสดงอาการออกมาแบบเม็ดเลือดแดงแตก ทำให้เลือดจาง (ซีด) ปัสสาวะดำเหมือนสีน้ำปลาหรือสีโคล่า ตาและตัวเหลือง ...
  • พันธุ์แพ้ยา (ตอนที่ 1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 17 กันยายน 2523
    พันธุ์แพ้ยา (ตอนที่ 1)ถ้าท่านไปซื้อยาชุดแก้หวัดจากร้านขายยาละก็ มักจะมีคลอแรมอยู่ด้วย ที่จริงการขายยาแบบนี้ผิดกฎหมาย แต่การควบคุมกฎหมายในบ้านเราหละหลวม อย่างที่รู้ๆกันอยู่ ยานี้จึงมีโอกาส “ฆ่า” คนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์....”ยาเป็นของคู่กับโลก เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่จำเป็นสำหรับชีวิต เป็นสิ่งที่ช่วยให้ชีวิตของคนเรายืนยาวต่อต้านอุปสรรคของการดำรงชีวิตคือ ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa