Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » สวนโมกข์ ธรรมกาย สันติอโศก

สวนโมกข์ ธรรมกาย สันติอโศก

  • บูรณาการ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    ตามที่กล่าวมาแล้ว 9 ตอน จะเห็นได้ว่าสำนักสวนโมกข์ ธรรมกาย และสันติอโศกมีจุดเด่นที่ต่างกัน กล่าวคือสวนโมกข์ = ปัญญาธรรมกาย = สมาธิสันติอโศก = ศีลทั้งนี้มิได้หมายความว่าแต่ละสำนักจะปราศจากซึ่งอีก 2 สิกขา แต่กล่าวโดยจุดเน้นหรือจุดเด่นที่สาธารณะได้รับรู้เท่านั้นไตรสิกขา อันได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา ต้องมีครบทั้ง 3 เรื่องอย่างเชื่อมโยงกันจึงจะทำให้บุคคลพ้นทุกข์ได้ ...
  • ตอนที่ 8 สันติอโศก พระหรือมาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 101 กันยายน 2530
    ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนที่แล้วว่ามีผู้ที่เคารพท่านโพธิรักษ์ ว่าเป็นพระแท้ก็มี ที่ไม่เคารพและว่าเป็นมารก็มีท่านเป็นอะไรกันแน่?ทางที่ดีอย่างเพิ่งไปปักใจลงไปทีเดียว แต่ลองตรวจสอบดูก่อน เริ่มด้วยการตรวจสอบด้วยความคิด หรือไล่เรียงด้วยเหตุผลพูดถึงการตรวจสอบด้วยความคิด อยากจะกล่าวว่าพวกเราคนไทยมักจะไม่ค่อยมีวัฒนธรรมอันนี้ความคิดเป็นนามธรรม คนไทยโดยทั่วไปเป็นพวกวัตถุธรรมดังจะเห็นได้ทั่วไป เช่น ...
  • ตอนที่ 7 พระโพธิรักษ์และชาวอโศก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    ‘สันติอโศก’ มีกำเนิดมายังไม่ถึง 20 ปี แต่ได้รับความสนใจและการพูดถึงกันอย่างแพร่หลาย ทั้งทางบวกและทางลบมีผู้เขียนถึงและทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับสันติอโศกหลายเล่ม เช่นรายงานวิจัย “จรณะ 15 ทางเอกแห่งการบรรลุธรรมอย่างพระพุทธเจ้าฯ” โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมศรี ปทุมสูตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปยงค์ วิริยะวิทย์และรองศาสตราจารย์อาภรณ์ พุกกะมาน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ...
  • ตอนที่ 6 ‘ธรรมกาย’ องค์กรจัดตั้ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 99 กรกฎาคม 2530
    ‘ธรรมกาย’ เป็นขบวนการจัดตั้ง (organized) ชัดเจน ส่วนสำนักอื่นๆนอกนั้นเกือบทั้งหมดไม่เป็นการจัดตั้ง ต้องเข้าใจประเด็นนี้จึงจะเข้าใจ ‘พฤติกรรม’ ที่แตกต่างกันตลาดสดเป็นตัวอย่างของการไม่มีการจัดตั้ง กองทัพเป็นตัวอย่างของการจัดตั้งอย่างหนักแน่น ที่ตลาดสดใครใคร่ขายอะไรขาย คนซื้อมาจากที่ต่างๆไม่ทราบจากที่ใดบ้าง แต่งตัวต่างๆกัน หญิงชายเด็กหรือทั้งหมดจำนวนเท่าใดไม่ทราบ ...
  • ตอนที่5 พุทธธรรม กับ ธรรมกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    ตอนที่แล้วได้กล่าวถึงความสำเร็จของ ‘ธรรมกาย’ เรื่องที่ ‘ธรรมกาย’ อาจมีปัญหามากที่สุดคือทิฐิเกี่ยวกับการบรรลุธรรมจุดมุ่งหมายของศาสนาทุกศาสนาคือการบรรลุธรรมการบรรลุธรรมคือสภาวะจิตที่หลุดพ้นจากความร้อยรัดทั้งปวงสำหรับศาสนาที่มีพระผู้เป็นเจ้า การบรรลุธรรมคือการที่จิตของบุคคลไปสู่หรือไปรวมกับพระผู้เป็นเจ้า ดังเช่นในศาสนาฮินดู ...
  • ตอนที่ 4 จากปากน้ำภาษีเจริญสู่ปทุมธานี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    ในด้านหนึ่งวัดธรรมกายกำลังโด่งดัง ภาพโบสถ์ทรงแปลกสะดุดตา ภาพผู้คนเป็นเรือนหมื่นเรือนแสนที่พากันไปชุมนุมปฏิบัติธรรม แผ่นโป๊สเตอร์อันสวยงามประชาสัมพันธ์เรื่องธรรมทายาทติดอยู่ทั่วไป เป็นเรื่องแปลกใหม่และมีพลัง ในอีกด้านหนึ่งก็มีคำถามและคำวิพากษ์เช่นว่า วัดธรรมกายกำลังทำอะไร ทำไมจึงต้องใช้เงินมากนัก ดูจะดึงดูดคนชั้นกลางเชื้อสายจีน เข้ายึดกุมชมรมพุทธของมหาวิทยาลัยต่างๆ ...
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa