Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » กวี คงภักดีพงษ์

กวี คงภักดีพงษ์

  • การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะ (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะ (ต่อ)เป็นที่ทราบกันดีว่า บรรยากาศการทำงานในยุคเครื่องจักรไม่ช่วยส่งเสริมความสมดุลของกล้ามเนื้อเลย การต้องทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานานหลายชั่วโมง ไม่ว่าจะบนโต๊ะทำงานหรือกับเครื่องจักร ในพื้นที่แคบๆในห้องที่แออัดไม่อาจทำให้ภาวะของกล้ามเนื้อเราอยู่อย่างเป็นปกติได้ ความบีบรัดทางเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม การเมืองที่เกิดขึ้นไม่เว้นวัน ก็มีผลต่อความไม่สมดุลอย่างมาก ...
  • การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะดังได้กล่าวไปแล้ว ทั้งจากหลักการของอาสนะและคำอธิบายของเชอริงตันโดยทั่วไป อิริยาบถที่นิ่ง สงบนั้น คือการที่กลไกระบบประสาทกล้ามเนื้อประสานงานกันได้พอเหมาะและใช้พลังงานน้อยที่สุด การคงสภาพและจัดปรับของอิริยาบถขึ้นกับการทำงานร่วมกันของระบบประสาทอัตโนมัติที่ละเอียดอ่อน มากมายประสานกับกล้ามเนื้อ ซึ่งกล้ามเนื้อมัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องถูกควบคุมโดยกลไกตอบสนองอันซับซ้อน ...
  • โยคะบำบัด : ท่าโยคะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    โยคะบำบัด : ท่าโยคะนิยามของท่าเราอาจให้คำจำกัดความ "ท่า" หมายถึง ลักษณะอาการ การวางตัวของร่างกาย 1)โดยมีการค้ำไว้ พยุงไว้ หรือ 2)การประสานกันของกล้ามเนื้อหลายๆ ส่วนเพื่อ ก)รักษาการวางตัวของร่างกายให้นิ่ง หรือ ข) เพื่อเป็นฐานสำหรับการขยับเคลื่อนในขั้นต่อไป ฐานนี้อาจจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนเป็นการเคลื่อนไหวเป็นขั้นๆ ที่มีรูปแบบเฉพาะเจาะจง ท่าที่มีประสิทธิภาพ ...
  • การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ อาสนะ (6)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ อาสนะ (6)จากที่ได้อธิบายก่อนหน้า เราสามารถสรุป ดังนี้1. จุดประสงค์หลักของอาสนะคือ เอาชนะ"อังกเมจยตวา" ซึ่งเป็นสภาวะที่จังหวะธรรมชาติของเราถูกรบกวน เป็นสภาวะที่การดำเนินอิริยาบถพื้นฐานของเราถูกรบกวน อาสนะเป็นการฟื้นฟูระบบต่างๆ ในร่างกายให้ทำงานอย่างสอดประสานกัน2. อาสนะไม่ใช่แค่เพียงท่าอะไรสักท่า แต่เป็นอิริยาบถเฉพาะเจาะจง ...
  • การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (5) อาสนะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (5) อาสนะ เราต้องตระหนักว่ากลไกตอบสนองต่ออิริยาบถ (postural reflexes) มีบทบาทสำคัญต่อการควบคุมมัสเซิลโทน และส่วนใหญ่ ก็ทำงานโดยการกระตุ้นของตัวรับความรู้สึกตามส่วนปลายของอวัยวะต่างๆ ในกล้ามเนื้อ ข้อต่อ และเส้นเอ็น ทั้งหมดนี้เกิดกับสัตว์ทั้งหลาย แต่มีข้อสังเกตสำหรับตัวมนุษย์เองที่วิวัฒนาการมายืน เดิน 2 ขา ที่วิวัฒนาการจนแขนและมือสามารถทำการจับ คว้า ...
  • การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (4) อาสนะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 328 สิงหาคม 2549
    การปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (4) อาสนะโศลกทั้ง 2 อธิบาย ว่าเราควรฝึกอาสนะอย่างไรเพื่อบรรลุผลตามที่ระบุ และเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราทำอาสนะด้วยวิธีนี้ แต่ก็แปลกที่คนทั่วไป และครูโยคะหลายคนกลับบอกให้ลูกศิษย์ใช้แรงมากๆ ทั้งๆ ที่ปตัญชลีระบุไว้อย่างชัดเจนว่า เราจะได้รับผลสูงสุดเมื่อทำโดยปราศจากความพยายาม prayatna saithilyat เมื่อฝึกอาสนะด้วยความผ่อนคลาย เมื่อฝึกประกอบกับการใส่ใจไปยังสภาวะแห่งอนันท์ ananta ...
  • ปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (3) อาสนะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 327 กรกฎาคม 2549
    ปรับสภาพกลไก กาย-ใจ (3) อาสนะความหมายของคำว่า "อาสนะ" หมายถึง อิริยาบถ ดังนั้น เราควรฝึกควรทำการเรียนรู้มันตามนั้น การศึกษาผลของอาสนะก็ไม่ควรศึกษาแบบ kinesiology หรือศาสตร์แห่งการเคลื่อนไหว แต่ควรศึกษาแบบอิริยาบถที่นิ่ง ที่ขึ้นกับการคงสภาวะในอิริยาบถ tonic reaction ดังที่ได้กล่าวมาแล้วก่อนหน้า ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของอาสนะโชคไม่ดีที่มนุษย์นั้นคุ้นเคยกับการเคลื่อนไหว ...
  • ปรับสภาพกลไก กาย-ใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ปรับสภาพกลไก กาย-ใจหากกล้ามเนื้อสูญเสียความแข็งแรงพื้นฐาน (tone) สัญญาณกระตุ้นจากภายนอกก็ไม่อาจทำให้เกิดการกระทำ หรือเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย เปรียบได้กับยางหากมีความตึงตัวก็จะสามารถดีดตัวต่อแรงที่มากระทำได้เต็มที่ แต่ถ้าหย่อนตัวการดีดตัวต่อแรงที่มากระทำก็จะน้อยลง สัญญาณจากภายในทำหน้าที่มากกว่าแค่รองรับสัญญาณจากภายนอก มันยังทำหน้าที่สกัดสัญญาณจากภายนอก รวมทั้งกำหนดประสิทธิภาพของสัญญาณภายนอก ...
  • ปรับสภาพกลไก กาย-ใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    ปรับสภาพกลไก กาย-ใจโครงสร้างพื้นฐานจึงมีความสำคัญยิ่งที่จะก่อให้เกิดพฤติกรรมมนุษย์ทั้งภายในและภายนอก เมื่อมนุษย์อยู่ในสถานการณ์หนึ่งๆ เป็นเวลานาน กลไกการรับรู้ภายในจะก่อตัว และพัฒนาเป็นรูปแบบที่แน่นอนจนเป็นความเคยชิน ในครั้งที่แล้วได้มีการแสดงให้เห็นถึงทัศนะของโยคะที่มองว่า อังกะเมจะยัตวา แปลตรงตัวคือ สภาพแขนขาสั่นเทิ้ม หรือการรบกวนต่อสภาพปกติของร่างกายนั้น คือจุดเริ่มต้นของปฏิกิริยาลูกโซ่ ...
  • ยมะ นิยม : ไตร่ตรอง ตระหนักถึงคุณค่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ขอย้ำอีกครั้งว่า “ยมะ นิยมะ” ไม่ใช่เพียงเรื่องของการกำกับควบคุมอารมณ์จนหมดไป และอย่ามอง “ยมะ นิยมะ” ว่าเป็นเพียงมิติทางอารมณ์ แต่หากเป็นเรื่องของการพิจารณาไตร่ตรองจนตระหนักถึงคุณค่า ว่ามันเป็นสิ่งจำเป็นที่จะพาเราไปยังเป้าหมายท่ามกลางสิ่งเย้ายวน ความขัดแย้งภายในก็จะเกิดขึ้นเป็นระยะๆ ระหว่างการไตร่ตรองกับแรงกระตุ้นของอารมณ์ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa