Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » นพ.วิทวัส (ภาสกิจ) วัณนาวิบูล

นพ.วิทวัส (ภาสกิจ) วัณนาวิบูล

  • ปัสสาวะบอกโรคและการขับพิษทางปัสสาวะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ปัสสาวะบอกโรค และการขับพิษทางปัสสาวะ (ตอนที่ ๑)นพ.ภาสกิจ (วิทวัส)วัณนาวิบูลน้ำเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของร่างกาย คิดเป็นน้ำหนักถึงร้อยละ65 เลือดของเรามีส่วนประกอบของน้ำถึงร้อยละ80 การเคลื่อนไหวไหลเวียนของน้ำในร่างกายทำให้สารอาหาร ไม่ว่าจะเป็นกรดอะมิโน กลูโคส ไขมัน วิตามิน เอนไซม์ ฮอร์โมน เป็นต้น สามารถเข้าหล่อเลี้ยงเซลล์ ...
  • เห็ดหูหนู : สุดยอดของเห็ด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    เห็ดหูหนู : สุดยอดของเห็ดเห็ดหูหนูเป็นเห็ดที่หาง่าย ราคาไม่แพง มีการบริโภคอย่างกว้างขวาง ไม่ใช่เฉพาะอาหารจีนเท่านั้น ปัจจุบันเป็นอาหารทั่วไป เช่น ผัดเนื้อไก่ใส่ขิงใส่เห็ดหูหนู ยำเห็ดหูหนู แกงจืดเห็ดหูหนู เป็นต้น เรียกว่า เป็นอาหารที่คุ้นเคยสำหรับคนไทยเห็ดหูหนูมีอยู่ ๒ ชนิด๑.เห็ดหูหนูขาว๒.เห็ดหูหนูดำเห็ดหูหนูขาวได้ถูกยกย่องเป็น สุดยอดของเห็ด ...
  • ไข้หวัดนกวิกฤติและโอกาส

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 299 มีนาคม 2547
    ไข้หวัดนกวิกฤติและโอกาสสถานการณ์ไข้หวัดนก ที่เชื่อว่าเป็นผลจากนกที่อพยพมาจากแถบทางเหนือที่มีอากาศหนาว หนีอพยพมาทางใต้ เป็นตัวพาหะนำเชื้อไวรัส H5N1 ทำให้เกิดการติดเชื้อในสัตว์ปีก โดยเฉพาะไก่ และมีรายงานว่าอาจแพร่ขยายไปยังหมู มีคนที่เสียชีวิตจากการสัมผัสกับไก่ที่เป็นโรค ทำให้ล้มเจ็บและตายไปหลายคน มีการประกาศเขตควบคุมโรค ห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ปีก มีการทำลายไก่นับล้านตัว ประชาชนไม่กล้ากินไก่ กินไข่ ...
  • หลับมากผิดปกติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    หลับมากผิดปกติบ่อยครั้งที่เราจะพบคนบางคน นอนเก่งมากผิดปกติ เรียกว่า นั่งที่ไหน หลับที่นั่น ถ้าเป็นเพราะอดนอน หรือนอนหลับไม่พอ อาการง่วงอยากนอนก็ถือว่าเป็นปกติ ถ้าเจอคนกินอาหารอิ่ม โดยเฉพาะตอนเที่ยงๆ อาจจะมีอาการง่วงงาวหาวนอนได้บ้าง เพราะหนังท้องตึง หนังตาหย่อน (เลือดไปเลี้ยงที่ท้องมาก ทำให้เลือดที่ไปเลี้ยงสมองน้อยลง สมองเลยไม่ค่อยสดใส ทำให้ง่วง) คือ เป็นภาวะปกติ คนที่ผิดปกติ ได้แก่ ...
  • โรคไซนัสอักเสบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 297 มกราคม 2547
    โรคไซนัสอักเสบหลายคนมักเป็นไซนัสอักเสบบ่อยๆ ภายหลังอากาศเปลี่ยนแปลงโดยมีอาการโรคหวัดนำมาก่อน ในขณะที่หลายคนเป็นหวัดไม่กี่วันก็หาย หลายคนที่มีไซนัสอักเสบเรื้อรัง กินยาปฏิชีวนะมาหลายขนานอาการก็ไม่ดีขึ้น ถึงกับต้องเจาะดูดหนองและล้างโพรงจมูก บางรายที่มีการติดเชื้อลุกลาม รุนแรงเข้ากระบอกตาหรือเข้าสมองเกิดฝีในสมอง คนที่เป็นไซนัสเรื้อรังจำนวนมาก มักจะแสวงหาแพทย์ทางเลือก ตั้งแต่การพ่นยาเข้าในจมูก ...
  • ฉีดยาเข้าจุดฝังเข็มรักษาโรค

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    ฉีดยาเข้าจุดฝังเข็มรักษาโรคพูดถึงการฉีดยา เรามักคุ้นเคยกับการฉีดยาที่ต้นแขน สะโพก การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำที่หลังมือ หรือแขน ยาที่ฉีดก็คิดถึงยาแผนปัจจุบัน ถ้ามีหมอเกิดเอายาฉีดที่เป็นสมุนไพร หรือยาแผนปัจจุบัน หรือบางครั้งเอาเลือดที่ดูดจากคนไข้คนเดียวกันฉีดเข้าไปในตัวคนไข้เอง ฉีดเข้าไปตำแหน่งอื่น เช่น ที่หน้าแข้ง หรือจุดต่างๆ ตัว แขน ขา ลำตัว ต้นคอ คงทำให้หลายคนแปลกใจ ...
  • หยางเหว่ย : โรคมะเขือเผา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    หยางเหว่ย : โรคมะเขือเผาในทรรศนะแพทย์แผนจีนมีทรรศนะการมองปัญหาโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศชาย ที่เหมือนกันและแตกต่างกันหลายประการ ระหว่างแพทย์แผนจีนและแพทย์แผนตะวันตก แพทย์แผนปัจจุบันเรียก อี.ดี. (erectile dysfunction) หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัวได้นานพอที่จะปฏิบัติกิจกรรมทางเพศได้สำเร็จ แพทย์แผนจีนเรียก หยางเหว่ย หมายถึง อวัยวะเพศชายไม่สามารถตั้งตรง หรือตั้งตรงแต่ไม่แข็งตัว ...
  • ยาอายุวัฒนะที่ต้องปรุงเอง : การทำงานกับการพักผ่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 291 กรกฎาคม 2546
    ยาอายุวัฒนะที่ต้องปรุงเอง : การทำงานกับการพักผ่อนยาอายุวัฒนะเพื่อการมีสุขภาพที่ดีและอายุยืนยาว เป็นสิ่งที่มนุษย์ในยุคต่างๆ แสวงหามาช้านานนับพันปี มีทั้งตำรับยา ความเชื่อในพิธีกรรม การกิน การดำเนินชีวิต การฝึกจิต เป็นต้น ซึ่งมีหลากหลายวิธีการ ในศาสตร์แพทย์จีนพูดถึงความสมดุลอย่างหนึ่งที่จะมีผลต่อการเกิดโรค การเสื่อมทรุดของร่างกายช้าหรือเร็ว คือ ...
  • สมุนไพรป้องกันซาร์ส?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 290 มิถุนายน 2546
    สมุนไพรป้องกันซาร์ส?สถานการณ์ของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส (acute severe respiratory syndrome) ได้สร้างความเสียหาย และความตื่นตระหนกแก่ประชาชน โดยเฉพาะในจีน ฮ่องกงอย่างมาก ในประเทศไทยถึงแม้ขณะนี้ไม่มีการพบว่ามีการแพร่ระบาดในหมู่ประชาชนไทย ที่พบว่ามีอาการหรือเสียชีวิต ๒ ราย ก็ล้วนติดมาจากต่างประเทศ เป็นที่ทราบดีว่าโรคนี้คนที่ติดเชื้อร้อยละ ๙๐ สามารถหายได้ มีเพียงร้อยละ ๑๐ ...
  • การแพทย์แผนจีนในศตวรรษที่ ๒๑

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 286 กุมภาพันธ์ 2546
    ฉบับนี้ผมขออนุญาตถอดความและเรียบเรียงปาฐกถา ของ ฯพณฯ เสอจิ้ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ได้แสดงในโอกาสเปิดการสัมมนาวิชาการศาสตร์ การแพทย์แผนจีนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๑๘-๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕ เพราะคิดว่าจะเป็นประโยชน์กับหลายๆ ท่านที่กำลังติดตามแนวโน้มของศาสตร์แพทย์แผนจีนในประเทศไทยและในระดับสากล ถ้าตกหล่นบกพร่องประการใด ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa