Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ภาษิต ประชาเวช

ภาษิต ประชาเวช

  • ถ่ายดำ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    ลุงแดงมีอาการปวดขัดในหัวเข่ามานานปี เคยหาหมอมาหลายแห่งแล้ว ได้ยามากินก็ทุเลา แต่เมื่อขาดยาก็กลับปวดอยู่ดังเดิมหมอบอกว่าเกิดจากข้อเข่าเสื่อม เห็นจะรักษาให้หายขาดได้ยากวันหนึ่งเพื่อนบ้านแนะนำให้ลุงแดงลองเอาตัวอย่างยาชุดที่เขาใช้ได้ผลให้ลุงแดงกิน ก็รู้สึกว่าดีชะงัดจึงเอาตัวอย่างยาชุดนั้นไปซื้อจากร้านขายยามากินเป็นประจำทุกวัน2 เดือนต่อมา อยู่ๆลุงแดงก็รู้สึกหน้าซีด มีอาการจะเป็นลม ...
  • เลือดบวก (เทียม) เชื้อบวก (ปลอม) (ตอนที่ 3)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 105 มกราคม 2531
    2 ฉบับที่ผ่านมาได้พูดถึงการตรวจหรือการทดสอบทางการแพทย์ว่า จะให้ผลบวก (ถ้าบ่งบอกว่าเป็นโรค) และผลลบ (ถ้าไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นโรค) ซึ่งแปลผลได้เป็น 4 ทางได้แก่1. ผลบวกแท้ คนที่เป็นโรคและถูกตรวจว่าเป็นโรค2. ผลบวกเทียม คนปกติ แต่ถูกตรวจว่าเป็นโรค3. ผลลบแท้ คนปกติ และถูกตรวจว่าปกติ (ไม่เป็นโรค)4. ผลลบเทียม คนที่เป็นโรค ...
  • เลือดบวก (เทียม) เชื้อบวก (ปลอม)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 104 ธันวาคม 2530
    ฉบับที่แล้วได้ทิ้งท้ายไว้ว่า การตรวจหรือการทดสอบทางการแพทย์จะให้ผลบวกถ้าบ่งบอกว่าเป็นโรค และให้ผลลบถ้าไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นโรคคำว่า “ผลบวก” “ผลลบ” นี้ใช้ได้กับวิธีการตรวจทุกชนิดถ้าเป็นการตรวจเลือด แล้วให้ผลเป็นบวก ก็นิยมเรียกย่อๆว่า เลือดบวก (ส่วนคำว่าเลือดลบ ปัสสาวะบวก ปัสสาวะลบ เอกซเรย์บวก เอกซเรย์ลบ ฟังแล้วรู้สึกขัดๆ หู จึงไม่เป็นที่นิยมพูดกันในภาษาหมอ)แต่อย่างไรก็ตาม ...
  • เลือดบวก (เทียม) เชื้อบวก (ปลอม)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    “อยากจะขอร้องให้สังคมเห็นใจผู้ป่วยโรคเอดส์ให้มาก โดยเฉพาะนางแบบรายนี้ก็ยังไม่ได้มีการตรวจยืนยันซ้ำว่า ได้รับเชื้อเอดส์จริงหรือไม่ ...
  • ยากินก่อนอาหาร ยากินหลังอาหาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 102 ตุลาคม 2530
    มีเรื่องเล่ากันว่า ยายเมี้ยนซึ่งเกิดมายังไม่เคยไปหาหมอ วันหนึ่งเกิดมีอาการปวดเอว ปวดหลังจนทนไม่ไหว จึงให้หลานชายพานั่งรถจากหมู่บ้านไปหาหมอที่โรงพยาบาลอำเภอ หมอตรวจแล้วก็สั่งยาให้ยายเมี้ยนกลับไปกินที่บ้านพอตกบ่ายคุณยายก็ถือขันน้ำใบหนึ่งพร้อมซองยาเดินไปยังด้านหลังของวิหารวัดที่อยู่ใกล้ ๆ แล้วก็หยิบยาขึ้นกินตามจำนวนเม็ดที่หมอสั่ง ตกเย็นคุณยายก็ทำอย่างเดียวกันอีกหลานชายนึกแปลกใจ จึงถามยายว่า ...
  • ไม่เป็นไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 101 กันยายน 2530
    นายบุญอายุ 50 ปี เคยตรวจพบว่าเป็นความดันสูงมา 4-5 ปี หาหมอบ้าง ไม่หาบ้าง ตามภาษาของคนไข้แบบไทยๆวันหนึ่งนายบุญได้ไปตรวจเช็กร่างกายยังสถาบันมีชื่อแห่งหนึ่ง ที่รับตรวจทางมะเร็งตามคำชักชวนของเพื่อนฝูง“หมอตรวจทุกอย่างแล้ว ไม่มีโรคมะเร็งปอด ตับ ไต หัวใจ กระเพาะลำไส้เป็นปกติดี ไม่เป็นไร...” คุณหมออธิบายให้ฟังนายบุญฟังแล้วดีใจยิ่งนัก สัปดาห์ต่อมา เพื่อนฝูงจัดงานเลี้ยงฉลองวันเกิด ...
  • โรคหัวใจ / หัวใจอ่อน / ประสาทอ่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    “คุณหมอ ช่วยตรวจดูว่าดิฉันเป็นโรคหัวใจหรือเปล่าคะ? เพราะไปตรวจตามคลินิกหลายแห่งแล้ว บางคนก็ว่าดิฉันเป็นโรคหัวใจอ่อน บางคนก็ว่าดิฉันเป็นโรคประสาทอ่อน เป็นมาปีกว่า หมดเงินไปก็มากแล้ว...”“เอายังงี้ดีไหม ลองช่วยเล่าอาการที่เป็นให้หมอฟังก่อนดีไหม? ”ผู้หญิงสาวเล่าว่าตัวเองมีความรู้สึกเหนื่อยง่าย ใจสั่น กลางคืนนอนไม่ค่อยหลับ มักคิดโน่นคิดนี่ ใจคอไม่ค่อนสบาย ...
  • กระเซ้า / ดีดดิ้ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 99 กรกฎาคม 2530
    คุณผู้อ่านอาจรู้สึกแปลกใจว่าคำ 2 คำนี้มาเกี่ยวข้องอะไรกับการพูดจาภาษาหมอก็ลองฟังเรื่องราวของคนไข้ 2 รายข้างล่างนี้ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่งดูซิครับคนไข้รายแรกเป็นหญิงอายุ 30 ปีเศษ เข้ามาในห้องตรวจคนไข้ พอคุณหมอถามว่า “เป็นอะไรมาหรือครับ?” ...
  • ยาแก้อักเสบ / ยาปฏิชีวนะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    “เด็กเป็นแผลพุพองเป็นหนองขึ้นหลายแห่งอย่างนี้ หมอจะให้ยาปฏิชีวนะไปกินด้วย” หมอบอกกับแม่เด็ก“แล้วคุณหมอไม่ให้ยาแก้อักเสบด้วยหรือคะ?” แม่เด็กถามคุณหมอฟังแล้วก็ตอบอย่างตัดบทว่า “ยาปฏิชีวนะก็คือ ยาแก้อักเสบอย่างเดียวกันนั่นแหละ”ความจริงแล้วทั้งสองคำนี้มีความหมายต่างกัน และในปัจจุบันก็มียาอยู่ทั้ง 2 ...
  • ตรวจย้อมเชื้อ / เพาะเชื้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    “วิธีที่จะตรวจดูสาเหตุของโรคปอดอักเสบอย่างง่ายๆก็คือ นำเอาเสลดของผู้ป่วยไปตรวจย้อมเชื้อดู...”“ผู้ป่วยที่เป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบเรื้อรัง ควรนำปัสสาวะไปเพาะเชื้อ เพื่อค้นหาเชื้อที่เป็นสาเหตุ...”คุณผู้อ่านคงเดาได้ไม่ยากว่า การตรวจย้อมเชื้อและการเพาะเชื้อ เป็นวิธีการค้นหาเชื้อโรคที่เป็นตัวก่อโรคในผู้ป่วยที่เป็นโรคติดเชื้อต่างๆการตรวจย้อมเชื้อ (Smear and stain) ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa