-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
362
มิถุนายน 2552
การเดินทางจากโรงแรม Natures' Village ที่เมืองตาลิไซ (Talisay) ไปยังพิพิธภัณฑ์ชุมชนชายทะเลสำหรับเด็กเมืองซาไกนั้น ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง เนื่องจากเส้นทางกำลังก่อสร้าง ผู้ร่วมทางชาวฟิลิปปินส์หลายคน บ่นว่าทำไมไปตั้งพิพิธภัณฑ์เสียห่างไกล แล้วใครจะไปดู น่าจะตั้งอยู่ในเมืองใหญ่ จะได้มีเด็กไปดูมากๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
361
พฤษภาคม 2552
เด็กๆ อยากรู้อยากเห็น สนใจสิ่งต่างๆ ที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง อยากจับต้องดู แกะดู มีส่วนร่วมประเทศไทยมีพิพิธภัณฑ์เด็กแห่งแรกคือ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2543 ตามพระราชปรารภของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงปรารถนาให้เด็กไทยได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างกว้างขวาง โดยริเริ่มขึ้นในสมัย ดร.พิจิตต รัตตกุล เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
177
มกราคม 2537
"พ่อ"“ลูกที่พ่อดูแลเอาใจใส่มากจึงมีแรงผลักดันให้พยายามประสบความสำเร็จในชีวิต แต่ถ้าไม่มีแม่คอยเป็นกำลังใจลูกก็จะเกิดความเครียดมากเกินไป"วันก่อนอยากรู้ว่าเด็กไทยสมัยนี้มีภาพพจน์ของ" พ่อ " อยู่ในใจเป็นอย่างไร จึงลองตั้งคำถามกับเด็กประถมและเด็กมัธยมจำนวนหนึ่ง“ถ้าพูดถึง “พ่อ" หนูจะนึกถึงอะไร"“นึกถึงคนผู้ชาย” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
172
สิงหาคม 2536
ลูกคนกับนมแม่ลูกกวางน้อยพอหลุดออกจากท้องแม่ ก็พยายามลุกขึ้นยืนโดยเร็วที่สุดด้วยพละกำลังของตนเอง เมื่อลุกขึ้นยืนเก้งก้างได้สำเร็จ สิ่งแรกที่ลูกกวางทำ ก็คือ ควานหานมแม่เพื่อดูด แม่กวางยืนนิ่งให้ลูกดูดนม และเลียลูกน้อยด้วยความรักความผูกพันตามธรรมชาติประสาแม่ลูก บรรดาสัตว์เลี้ยงด้วยนมทั้งหลายที่อาศัยอยู่ธรรมชาตินั้น เลี้ยงลูกน้อยของมันด้วยนมแม่โดยไม่มีตัวไหนปฏิเสธลูกของตนเอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
เรียนพิเศษ“เรื่องอยุติธรรมเช่นนี้ทุกคนพากันยอมรับว่าเป็นเรื่องธรรมดาของสังคมไทย มีแต่คนโวยวายถึงความหนักหนาสาหัสในการฝากเด็กเข้าเรียน แต่ไม่ยักมีคนคิดแก้ไขสักที”“เราลูกไปเรียนพิเศษด้วยนะ” คือ คำสั่งเสียครั้งสุดท้ายของกัปตันเครื่องบินพระที่นั่ง “โบอิ้ง 737” ก่อนออกจากบ้านไปประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตก เมื่อวันที่30 มีนาคม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
167
มีนาคม 2536
คุยกับลูกเรื่องเอดส์การเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นครั้งล่าสุดเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมานี้ มีข่าวซึ่งกระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรงในฐานะที่เป็นเลือดเนื้อไทยคนหนึ่งคือ ชาวญี่ปุ่นปัจจุบันนี้เห็นคนไทยกลายเป็น “ตัวเอดส์” ไปเสียแล้ว สมัยก่อนโน้นหากถามชาวญี่ปุ่นว่า “เมื่อเอ่ยถึงประเทศไทยคุณนึกถึงอะไร” คำตอบส่วนใหญ่ที่ได้ คือ ช้างไทย , kick boxing (มวยไทย) , แมวไทย และไก่ชน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
165
มกราคม 2536
ฟังเสียงลูกเวลาแต่ละปีผ่านไปอย่างรวดเร็วเหลือเกิน สมัยยังเป็นเด็ก บางครั้งเรามีความรู้สึกว่าเวลาแต่ละวันแต่ละเดือนช่างผ่านไปอย่างเชื่องช้า อยากโตเร็วๆ อยากเรียนจบเร็วๆ มาบัดนี้ เมื่อเข้าสู่วัยกลางคนความรู้สึกนั้นกลับตรงกันข้าม ยิ่งมองเห็นลูกหลานโตขึ้นเป็นหนุ่มเป็นสาว ทั้งๆ ที่เรายังจดจำวันที่ลูกๆ ยังเป็นทารกแบเบาะได้เหมือนเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อวานซืน เรายิ่งอยากถ่วงเวลาให้ผ่านไปอย่างช้าๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
เลี้ยงลูกพิการ“เอ... ทำไมเราไม่เคยนึกถึงคนพิการเลย”ดิฉันถามตัวเองเมื่อมีโอกาสร่วมทำสารคดีข่าวเรื่องคนพิการกับนักข่าวชาวญี่ปุ่น ดิฉันมั่นใจว่าคนไทยส่วนใหญ่ก็ไม่ได้คิดถึงคนพิการมากนัก นอกจากคนที่มีญาติพี่น้องเป็นคนพิการ หรือคนที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคนพิการโดยตรง คนพิการในสายตาของคนไทยโดยทั่วไป คือ คนตาบอดที่เดินเร่ขายลอตเตอรี่ หรือตั้งวงดนตรีเล่นอยู่ข้างถนน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
161
กันยายน 2535
สอบเทียบ โอกาสเลือกหรือลวงทางการศึกษา ?“แม่คะ...หนูอยากสอบเทียบ” คือประโยคแรกที่ลูกพูดเมื่อกลับถึงบ้านในวันแรกที่เข้าเรียนชั้นมัธยมหนึ่ง“โอ๊ย...ไม่ต้องสอบหรอกลูก เรียนตามปกติธรรมดานี่แหละ” ดิฉันห้ามลูกทันทีเพราะคิดว่าการสอบเทียบจะเพิ่มภาระทำให้ลูกต้องเรียนหนักขึ้น แถมยังต้องไปเรียนกวดวิชาเพื่อให้สอบได้อีกด้วย เวลาผ่านไปครึ่งปี ลูกบ่นว่า “เพื่อนหนูเขาสอบเทียบม.3 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
125
กันยายน 2532
ถ้าอยากมีลูกหัวดีจากหนังสือ KODOMO NO ATAMA O YOKUSURU SEIKATSU SHUKANเขียนโดย DR. YOSHIRO NAKAMATSUแปล/เรียบเรียง โดย พรอนงค์ นิยมค้าการออกกำลังกายคือกิจกรรมทางสมองทำไมต้องมีพัก 10 นาทีหากต้องการทำให้หัวดีขึ้น ควรฝึกพลังสมาธิ อย่างไรก็ดี แม้แต่มนุษย์ปัญญาเลิศก็ไม่สามารถมีสมาธิ ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อหมดสมาธิ ควรพักผ่อนสักเล็กน้อย หรือให้สมองได้พัก ...