Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » Dr.YOSHIRO NAKAMATSU

Dr.YOSHIRO NAKAMATSU

  • บทที่ 2 เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    18. อย่าสังกัดก๊ก “ไปพลาง” จงอยู่ก๊ก “ทีละอย่าง”การรวมศูนย์ความสนใจไปที่สิ่งหนึ่งสิ่งเดียว และมุมานะทำสิ่งนั้นจนสำเร็จ เป็นการพัฒนาพลังสมาธิของเด็กซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมาก หากเด็กมีพลังสมาธิดี ผลการเรียนย่อมดีไปด้วย เพราะสามารถจดจำบทเรียนที่เด็กอื่นต้องใช้เวลาเป็นชั่วโมงได้ภายใน 20 นาที คะแนนสอบจึงจะดีขึ้นกล่าวได้ว่า เด็กที่มีพลังสมาธิ คือเด็กหัวดี ...
  • บทที่ 2 เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    17. เด็กไม่ซน อนาคตอันตรายพลังความคิด พลังสมาธิ และจินตนาการสร้างสรรค์ของผมพัฒนาขึ้นมาได้ดี เพราะได้รับอิทธิพลจากคุณแม่และคุณตาเป็นส่วนใหญ่ คุณแม่ผมเป็นผู้นำการแต่งกายแบบฝรั่งมาเป็นเครื่องแบบนักเรียนสตรี ซึ่งสมัยนั้นยังสวมกิโมโนกันอยู่คุณแม่สั่งสกีมาจากเมืองนอก ให้นักเรียนหญิงทางเมืองเหนือใช้ลื่นไปบนหิมะแทนการสวมรองเท้าฟางและใช้ไม่ไผ่ คุณแม่ผมก็ได้รับอิทธิพลจากพ่อ คือคุณตาของผมนั่นเอง ...
  • บทที่ 2 เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    16. สมองเด็กเหนือกว่าคอมพิวเตอร์วันก่อนผมให้ลูกชายคนเล็ก เขียนเรียงความในหัวข้อเกี่ยวกับอนาคตของคอมพิวเตอร์ เมื่ออ่านผลงานเรียงความของลูก ผมก็รู้สึกโล่งใจ ที่ผลการสอนของผมซึมเข้าไปอยู่ในความคิดของลูกจริง ๆหากเราตั้งคำถามว่า คอมพิวเตอร์แบบล้ำยุคที่สุดจะเป็นแบบไหน? ผู้ใหญ่ทั่วไปคงตอบว่า คอมพิวเตอร์ จะพัฒนาขึ้นจนกระทั่งทำได้ทุกอย่างและมีคุณภาพดียิ่งขึ้น ...
  • บทที่ 2 เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    15. เสริมสร้างจินตนาการสร้างสรรค์ของเด็กผมมีลูก 3 คน คนโตเป็นผู้ชาย อายุ 16 ปี นับได้ว่าผมเองก็เป็นพ่อที่กำลังรับผิดชอบเลี้ยงดูลูกอยู่เช่นกัน ธุรกิจการงานของผมยุ่งมาก หาเวลาไม่ค่อยได้ดังใจ แต่ผมก็พยายามดูแลลูกตามที่ผมเห็นควรเวลาจะสั่งสอนลูก ผมมักหวนคิดถึงอดีตของตนเองอยู่เสมอ โดยคิดทบทวนว่าในสถานการณ์เช่นเดียวกันนี้ คุณแม่ของผมเคยเลี้ยงดู สั่งสอนผมมาอย่างไร ...
  • บทที่ 2 เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    14. พ่อแม่มีหน้าที่ปลูกฝัง “วิญญาณแข่งขัน”ถ้าอยากมีลูกหัวดี มีสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นหน้าที่ของพ่อแม่คือ การปลูกฝัง “วิญญาณแข่งขัน”ครอบครัวญี่ปุ่นสมัยนี้มีลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 1.7 คน ส่วนใหญ่จะมีลูกเพียง 2 คนหรือมีลูกคนเดียวเท่านั้น สมัยก่อนเรามีพี่น้อง 5 คน เป็นเรื่องธรรมดา แต่สมัยนี้กลายเป็นสิ่งแปลกถ้าใครมีลูกมากขนาดนั้น อาจเป็นเพราะพ่อแม่มีลูกน้อยนี่เอง ...
  • บทที่ 2 เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 110 มิถุนายน 2531
    13. ความอยากรู้อยากเห็น คือขุมพลังกระตุ้นสมองภาพแม่จูงลูกเดินในขณะที่ลูกเล็ก ๆ เอียงคอถามแม่ด้วยเสียงจ๋อย ๆ ว่า “แม่ฮะไอ้นั่นอะไรฮะ?” “แล้วไอ้นี่ล่ะ อะไรฮะ?” เป็นภาพที่เราพบเห็นกันบ่อย เด็กในวัยเรียนรู้ภาษานั้นช่างซักช่างถาม แกจะถามว่า “อะไร” หรือ “ทำไม” ตั้งแต่เช้าจรดเย็นทีเดียว ไม่ว่าเราจะมีงานยุ่งสักเพียงใดก็ตาม ...
  • บทที่ 2 เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 109 พฤษภาคม 2531
    12. ยิ่งเล่นยิ่งหัวดีผมเป็นเด็กที่ชอบสิ่งประดิษฐ์มาตั้งแต่หัดเดินเตาะแตะ และเมื่ออายุได้ ...
  • ถ้าอยากมีลูกหัวดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 108 เมษายน 2531
    บทที่ 2เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์11. ฝึกให้มีสมาธิในสิ่งหนึ่งสิ่งเดียวแม่ผมไม่เคยสั่งให้ผมดูหนังสือเรียนสักครั้งเดียว แต่ท่านบอกผมตั้งแต่ผมยังเล็กอยู่ว่า “มุมานะทำอะไรก็ได้สักอย่างหนึ่งซิ”นี่แหละครับที่ส่งผลอย่างมหาศาลในภายหลัง สิ่งที่ผมสนใจมากคือเครื่องบินจำลอง ...
  • ถ้าอยากมีลูกหัวดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 107 มีนาคม 2531
    บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้10. ยิ่งฝึกสมองเร็วยิ่งดีผมได้กล่าวไว้ในบทก่อนแล้วว่า น้ำหนักสมองของเด็กมีประมาณ 400 กรัม และของผู้ใหญ่ประมาณ 1,400 กรัม ท่านทราบไหมว่าอะไรคือความแตกต่างอันนี้?ความแตกต่างของน้ำหนักอยู่ที่ขนาดของเซลล์สมอง และขนาดของเส้นโลหิตแต่ละเส้นซึ่งเติบใหญ่ขึ้นตามอายุ ยิ่งกว่านั้นสิ่งแตกต่างที่สำคัญคือ จุดประสานประสาท (synapse) ...
  • ถ้าอยากมีลูกหัวดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้9. เลี้ยงลูกให้เป็น “บุ๋นจิเนียร์”สมมติว่าลูกของคุณเก่งทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ คุณจะส่งเสริมความสามารถของลูกอย่างไร?ผมคาดว่าคงจะมีผู้ตอบว่า “ก็สนับสนุนให้เขาศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ที่เขาสนใจ พวกวิชาสังคม ภาษา เขาไม่ชอบก็ช่างเถอะ ไม่จำเป็นต้องเรียนนัก เพราะโตขึ้นเข้ามหาวิทยาลัยก็จะแบ่งเป็นสายวิทย์สายศิลป์อยู่ดี ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa