Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ผศ.ภก.สุภัสร์ สุบงกช

ผศ.ภก.สุภัสร์ สุบงกช (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • Vancomycin กับการหวังผลทางการรักษาตามหลักเภสัชจลนศาสตร์

    วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ผู้ป่วยชายไทย อายุ 87 ปี มีประวัติของ Chronic kidney disease (CKD) ถูกส่งตัวมาจากโรงพยาบาลประจำจังหวัดด้วยอาการซึมและสับสน หลังเข้ารับรักษาด้วยการผ่าตัด  ดามแขนที่หักจากการลื่นล้ม ภายหลังเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยได้ 72 ชั่วโมง ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่ามีอาการของปอดอักเสบจากการติดเชื้อและมีภาวะ acute renal failure ร่วมด้วยจากการวิเคราะห์ผลตรวจทางจุลชีววิทยาจากเสมหะพบเชื้อ ...
  • Theophylline : บทบาทใหม่ที่น่าติดตาม

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease : COPD) เป็นโรคที่เกิดจากการที่ผู้ป่วยได้รับสารพิษเรื้อรัง เช่น ควันบุหรี่ มลพิษทางอากาศ ฯลฯ ผ่านระบบทางเดินหายใจ กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจนหลั่ง proinflammatory mediator จึงเกิดการอักเสบขึ้นในหลอดลมและลามไปถึงเนื้อปอด. สำหรับหลักการรักษาผู้ป่วย COPD ...
  • การใช้ยาเพื่อป้องกัน stress ulcer ที่เหมาะสมเป็นอย่างไร

    วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    ถาม  :  การใช้ยาเพื่อป้องกัน stress ulcer ที่เหมาะสมเป็นอย่างไรตอบ  :  Stress-related mucosal damage (SRMD) หรือ stress ulcer เป็นภาวะเครียดของร่างกายที่ทำให้เยื่อบุทางเดินอาหารบาดเจ็บ ร้อยละ 75-100 ของผู้ป่วยวิกฤต จะเกิด SRMD ซึ่งโดยทั่วไปจะไม่มีอาการ. อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยอาจมีอาการเลือดออกได้ overt Stress-Related Mucosal Bleeding (overt SRMB) หรือ ...
  • ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้

    วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    ถาม  : ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้ ตอบ  :  ยาในรูปแบบเม็ดนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด1. ยาออกฤทธิ์เนิ่น (sustained  release) เช่น ชื่อยาที่มีคำต่อท้ายว่า CR, MR, SR, XL ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อปลดปล่อยตัวยาช้าๆ และต่อเนื่อง. ตัวอย่างเช่น Adalat CR, Diamicron MR, Klacid MR, Neulin SR, Xatral XL  ...
  • คำถามเกี่ยวกับยาบรรเทาปวด

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถาม หญิงโสดอายุ 20 ปี ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็ง nasopharynx ระยะที่ 4 มีอาการปวดระดับรุนแรงที่สะโพกเนื่องจากมีการกระจายของโรคมะเร็งไปที่กระดูก (pain score 10/10 จาก visual analog scale). ผู้ป่วยได้กินยาแก้ปวด tramadol (50 มก.) 1x4 pc ภายหลังจากที่ได้รับยา อาการปวดทุเลาลง(pain score ลดลงเหลือ 7/10) มีคำถามจากทีมรักษาว่าสามารถเพิ่มยา morphine ...
  • คำถามเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถามการใช้ยา sulperazone จำเป็นต้องให้วิตามินเค ร่วมด้วยทุกครั้งหรือไม่ ตอบยา sulperazone เป็นยาปฏิชีวนะ ประกอบ  ด้วยยา 2 ชนิด คือ cefoperazone และ sulbactam อย่างละ 1 กรัม เนื่องจากโครงสร้างของ cefoperazone จะไปรบกวนการสร้างวิตามินเคของผู้ป่วย ส่งผลให้เกิด hypoprothrombinemia และอาจเพิ่มความเสี่ยงของเลือดออกมากกว่าปกติถึงแม้ว่าจะมีโอกาสไม่มากก็ตาม.ในกรณีที่พบว่าผู้ป่วยเกิดอาการ ...
  • หลักในการบรรเทาอาการปวดด้วย Fentanyl Transdermal Patch (Fentanyl TTS)

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ชายไทยคู่ อายุ 51 ปีได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะสุดท้าย (Stage IV). ผู้ป่วยเคยได้รับการผ่าตัดลำไส้ใหญ่ (colectomy) ร่วมกับ jejunostomy. ต่อมาผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยอาการปวดแบบตื้อๆบริเวณหน้าท้อง ตลอดเวลา ความรุนแรงระดับ 10 (visual analog scale). ผู้ป่วยได้รับยา morphine 15 มก. IV ทุก 4 ชั่วโมง (90 มก./วัน) ร่วมกับ pethidine 25 มก. IV สำหรับ breakthrough ...
  • Drug interactions ภัยที่ซ่อนเร้น

    วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 48 ปี ได้เริ่มรับการรักษามะเร็งรังไข่ ด้วยวิธีการผ่าตัดและเคมีบำบัดสูตรผสม (paclitaxel และ carboplatin). ในระหว่างเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการขาด้านซ้ายบวมแดงและมีอาการปวด จึงถูกวินิจฉัยว่าเป็น deep vein thrombosis (DVT) และได้รับการรักษาด้วยยากลุ่ม low molecular weight heparin ฉีดเข้าใต้ผิวหนังเป็นเวลา 2 วัน ร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือด (warfarin 3 ...
  • ยาใหม่ที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็งตับ Molecular Targeted Therapy in Hepatocellular Carcinoma

    วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคมะเร็งตับ (hepatocellular carcinoma)1,3,9โรคมะเร็งตับ (hepatocellular carcinoma หรือ HCC ) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก รายงานว่าพบมากเป“นอันดับที่ 5 (คิดเป็นร้อยละ 5.6 ของมะเร็งทั้งหมด) โดยมีอุบัติการณ์ในเพศชายมากกว่าเพศหญิง 4 เท่า และเป็นสาเหตุการตายอันดับ 3 ในเพศชายและอันดับ 4 ในเพศหญิง ...
  • Drug therapy for neuropathic pain

    วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ตัวอย่างกรณีศึกษาของอาการปวด กรณีศึกษาที่ 1 ชายอายุ 65 ปี มีประวัติการเป็นงูสวัด เนื่องจากติดเชื้อ herpes zoster แบบเฉียบพลันในช่วงระยะ 3 เดือนที่ผ่านมา และมีอาการปวดปลายประสาท (postherpetic neuralgia). ภายหลังจากที่บรรเทาจากโรคงูสวัด ผู้ป่วยได้ไปพบแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปและได้รับยากลุ่ม tricyclic antidepressant แต่ผู้ป่วยไม่สามารถทนอาการข้างเคียงได้ แพทย์จึงได้หยุดยา และได้ให้ยากลุ่ม NSAIDs ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa