Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้
  • ขนาดตัวอักษร  Normal size text | Increase text size by 10% | Increase text size by 20% | Increase text size by 30%

ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้

โพสโดย somsak เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2552 00:00

ถาม   :  ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้

ตอบ   :  ยาในรูปแบบเม็ดนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด
1. ยาออกฤทธิ์เนิ่น (sustained  release)
เช่น ชื่อยาที่มีคำต่อท้ายว่า CR, MR, SR, XL ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อปลดปล่อยตัวยาช้าๆ และต่อเนื่อง. ตัวอย่างเช่น Adalat CR, Diamicron MR, Klacid MR, Neulin SR, Xatral XL  ถ้านำไปบดตัวยาจะถูกปล่อยออกมาพร้อมกันทั้งหมดทำให้ได้ยาขนาดมากเกินไปในครั้งเดียวจนอาจเกิดอันตรายกับผู้ป่วย  หรือไม่มีตัวยาเหลือให้ปลดปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่อง.

2. Enteric-coated tablet เป็นยาเม็ดที่เคลือบตัวยาที่ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร หรือเป็นยาที่ถูกทำลายได้โดยกรดในกระเพาะอาหาร จึงต้องเคลือบตัวยาไว้เพื่อให้ไปปลดปล่อยยาที่ลำไส้เล็กถ้าบดจะทำให้ตัวยาออกมาในกระเพาะอาหารทำให้ถูกกรดในกระเพาะอาหารทำลายหรือเกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหารได้. 

3. ยาอมใต้ลิ้น ถูกออกแบบมาเพื่อให้ละลายและถูกดูดซึมผ่านหลอดเลือดดำบริเวณใต้ลิ้น/กระพุ้งแก้มได้อย่างรวดเร็วอีกทั้งหลีกเลี่ยงการถูกทำลายที่ตับก่อนที่ยาจะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด (first pass effect) ไปจนถึงเพื่อป้องกันการสัมผัสกับยาอื่น หรืออาหาร หรือน้ำย่อยในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งจะมีผลต่อความแรงของยาหรือ bioavailability ถ้าบดจะทำให้ยาเสียคุณสมบัติดังกล่าว.

4. ยาเคมีบำบัด เมื่อบดแล้ว ตัวยาซึ่งสามารถเป็นสารก่อมะเร็งหรือก่อภาวะทารกวิรูปจะฟุ้งกระจายไปเป็นอันตรายต่อผู้ที่บดยาได้.

ดังนั้น ก่อนที่จะบดยาตัวหนึ่งเพื่อความสะดวกต่อการให้ยากับผู้ป่วยควรหยุดคิดสักนิดก่อนว่าการบดยาดังกล่าวนั้นจะทำให้คุณสมบัติของยาเปลี่ยนแปลง ไป ทำให้ประโยชน์ที่ได้รับจากยานั้นลดลงหรือเกิด ผลเสียขึ้นกับผู้ป่วยหรือไม่.
 

จิตติพล ตันติวิทย์ ภ.บ. สำนักวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สุภัสร์ สุบงกช ภ.บ., M.Sc. (Clinical Research), Pharm.D. ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ, คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ป้ายคำ:
  • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • ยาและวิธีใช้
  • คุยสุขภาพ
  • ดูแลสุขภาพ
  • ถาม-ตอบเรื่องยา
  • ภก.จิตติพล ตันติวิทย์
  • ผศ.ภก.สุภัสร์ สุบงกช
  • อ่าน 8,691 ครั้ง
  • พิมพ์หน้านี้พิมพ์หน้านี้
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

  • สนับสนุนสื่อสุขภาพออนไลน์หมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • คำแนะนำสำหรับประชาชน เรื่อง โรคจากเชื้อแบคทีเรีย อีโคไลชนิดรุนแรง
  • ผ่าตัดฟรีสำหรับเด็ก ที่เป็นโรคหัวใจ
  • สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย (สพท.)

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa