-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
176
ธันวาคม 2536
ถ่ายดำ-เลือดออกในกระเพาะอาหารเยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบข้อน่ารู้1. อาการถ่ายดำ ในที่นี้หมายถึง การถ่ายอุจจาระเป็นสีดำคล้ายถ่ายหรือเฉาก๊วย ซึ่งผิดไปจากปกติที่ออกเป็นสีเหลืองหรือน้ำตาล (อุจจาระที่ดีควรมีลักษณะนุ่ม ก้อนโต สีเหลืองนวล และไม่มีกลิ่น ซึ่งแสดงว่า กินผักและผลไม้เพียงพอ)2. ถ้าจู่ๆ สังเกตเห็นอุจจาระออกเป็นสีดำ ก็จงอย่าได้นิ่งนอนใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
175
พฤศจิกายน 2536
ส่าไข้ข้อน่ารู้1. ส่าไข้ เป็นไข้ออกผื่นชนิดหนึ่งที่พบในทารกวัย 6 เดือนถึง3 ขวบ ไม่พบในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ติดต่อโดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน ระยะฟักตัวของโรคประมาณ7-17 วัน เมื่อเป็นแล้ว มักจะไม่เป็นซ้ำอีก โรคนี้ฝรั่งเรียกว่า “reseolar infantum” แปลว่า “ไข้ผื่นกุหลาบในทารก” คนไทยเรียกว่า “ล่าไข้” บางครั้งก็เรียกว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
ไข้สมองอักเสบ จากเชื้อไวรัสเจอีข้อน่ารู้1. ไข้สมองอักเสบ (encephalitis) หมายถึง การอักเสบของเนื้อสมอง ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน บางครั้งอาจพบเป็นโรคแทรกช้อนของโรคหัด คางทูม ไข้สุกใส เชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุสำคัญที่สุดของไข้สมองอักเสบในบ้านเรา ก็คือ เชื้อไวรัสเจอี (JE ซึ่งย่อมาจาก Japanese encephalitis) ซึ่งพบมีการระบาดในบางปีได้ โรคนี้พบมากทางภาคเหนือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
172
สิงหาคม 2536
กรวยไตอักเสบชนิดเฉียบพลันข้อน่ารู้1. ไต เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ขับปัสสาวะและของเสียออกจากร่างกายและรักษาดุลของร่างกายให้ดำรงอยู่อย่างปกติสุข ถ้าไตสูญเสียหน้าที่ดังกล่าวไป ก็เรียกว่า ไตวาย หรือไตพิการ ทำให้ร่างกายดำรงอยู่ได้หากแก้ไขไม่ได้ก็จะก็จะถึงแก่ชีวิตได้ โรคไตหรือความผิดปกติเกี่ยวกับไต มีได้หลายชนิด เช่น ไตอักเสบ ไตเป็นก้อนนิ่ว ไตเป็นก้อนเนื้องอกหรือมะเร็ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
171
กรกฎาคม 2536
กุ้งยิงข้อน่ารู้1. กุ้งยิง หมายถึง ตุ่มฝีเล็กๆ ที่ขอบเปลือกตา ซึ่งอาจพบได้ที่เปลือกตาบนหรือล่าง เกิดจากต่อมขับไขมันในบริเวณนั้นมีการติดเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เกิดการอักเสบและบวมนูนเป็นตุ่มฝี2. กุ้งยิงแบ่งเป็น2 ชนิด ได้แก่ ชนิดหัวผุด และชนิดหัวหลบในกุ้งยิงชนิดหัวผุด (ภาษาอังกฤษเรียกว่า extemal hordeolum หรือ stye) เป็นการอักเสบของต่อมจับไขมันบริเวณผิวหนังตรงโคนขนตา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
มิถุนายน 2536
ปอดบวม – ปอดอักเสบข้อน่ารู้1. โรคปอดอักเสบ ชาวบ้านนิยมเรียกว่า ปอดบวม ภาษาอังกฤษเรียกว่า นิวโมเนีย (pneumonia) หมายถึง การอักเสบของเนื้อปอด เมื่อเนื้อปอดอักเสบ บวม มีหนองขัง จึงทำหน้าที่ไม่ได้เต็มที่ ทำให้การหายใจสะดุด เกิดอาการหายใจหอบ เหนื่อย อาจมีอันตรายถึงชีวิตได้ จึงนับว่าเป็นโรคร้ายแบบเฉียบพลันชนิดหนึ่ง2. โรคนี้มักเกิดกับคนที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ เช่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
168
เมษายน 2536
แผลในปาก-แผลแอฟทัสข้อน่ารู้1. อาการเจ็บปาก ปากเปื่อยเป็นแผล เป็นสิ่งที่พบได้บ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ สาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด ก็คือ แผลแอฟทัส (aphthous ulcer) หรือเรียกตามภาษาชาวบ้านว่า “แผลร้อนใน” นั่นเอง2. แผลแอฟทัสหรือแผลร้อนในเป็นโรคที่เกิดกับคนเราเกือบทุกคน พบมากในวัยรุ่นและวัยหนุ่มสาว และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย3. สาเหตุของโรคนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
167
มีนาคม 2536
เยื่อหุ้มสมองอักเสบข้อน่ารู้1. สมองและประสาทไขสันหลังของคนเรานอกจากมีกระดูกอันแข็งแกร่งห่อหุ้มอยู่โดยรอบแล้ว ในส่วนที่อยู่ใต้กระดูกเข้าไปยังมีเยื่อบางๆ หุ้มสมองอยู่อีก 3 ชั้น ซึ่งเรียกว่า “เยื่อหุ้มสมอง” และระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้นกลางกับชั้นในสุดจะมีน้ำหล่อเลี้ยง เรียกว่า น้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ถ้าเยื่อหุ้มสมองเกิดการติดเชื้ออักเสบ ก็เรียกว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
166
กุมภาพันธ์ 2536
โรคลมชัก – ลมบ้าหมูข้อน่ารู้1. โรคลมชัก (epilepsy) หมายถึง อาการหมดสติและชักเกร็ง ซึ่งจะเกิดขึ้นชั่วขณะและเป็นครั้งคราว โบราณเรียกว่า “ลมบ้าหมู” ภาษาร่วมสมัยเรียกว่า “โรควูบ”2.โรคนี้เกิดจากการทำงานของสมองผิดปกติไปชั่วคราว เซลล์สมองบางส่วนมีการปลดปล่อยพลังไฟฟ้าผิดปกติ กระตุ้นให้เกิดอาการชักเกร็ง ส่วนใหญ่เป็นโรคที่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด กล่าวคือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
165
มกราคม 2536
เกาต์ข้อน่ารู้1. โรคเกาต์ (เก๊าท์, เก๊าต์ก็มีการเขียนกัน) ชื่อประหลาดเนื่องจากเป็นชื่อทับศัพท์จากคำว่า “gout” หมายถึง โรคปวดข้อ ข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง เกิดจากร่างกายมีการสะสมของสารที่เรียกว่า “กรดยูริก” (uric acid) มากเกินไป กรดยูริกเป็นสารที่ย่อยสลาย (เผาผลาญ) มาจากสารเพียวรีน (purine) ซึ่งมีมากในเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ และพืชผักอ่อน ...