-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
งูสวัดข้อน่ารู้1. งูสวัด เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีลักษณะพุขึ้นเป็นตุ่มน้ำใสเล็กๆ เรียงเป็นแนวยาวตามแนวเส้นประสาท เกิดจากการติดเชื้องูสวัดซึ่งเป็นไวรัสชนิดหนึ่ง มีชื่อว่า เชื้อเฮอร์ปีส์ ซอสเตอร์ (Herpes zoster) ซึ่งเป็นเชื้อชนิดเดียวกันกับไข้สุกใส (อีสุกอีใส) ติดต่อโดยการสัมผัสกับคนที่เป็นงูสวัดหรือไข้สุกใส2. งูสวัดกับไข้สุกใส ถือว่าเป็นโรคพี่โรคน้องที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัสตัวเดียวกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
163
พฤศจิกายน 2535
เริมข้อน่ารู้1. เริมเป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีลักษณะพุขึ้นเป็นตุ่มน้ำใสเล็กๆ เกิดจากการติดเชื้อเริม ซึ่งเป็นไวรัสชนิดหนึ่ง มีชื่อว่า เชื้อเฮอร์ปีส์ ซิมเพลกซ์ (Herpes simplex) ติดต่อโดยการสัมผัส ตำแหน่งที่พบบ่อย ได้แก่ ริมฝีปาก แก้ม จมูก หู ตา ก้น อวัยวะสืบพันธุ์ มักจะพุขึ้นตรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งเท่านั้น2. โรคนี้มีลักษณะพิเศษ คือ เป็นแล้วจะหายได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
162
ตุลาคม 2535
ลมพิษข้อน่ารู้1. ลมพิษ (urticaria) ถือเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการสร้างสารแพ้ดังที่เรียกว่า “ฮิสตามีน” (histamine) ออกมาจากเซลล์ในชั้นใต้ผิวหนัง ทำให้หลอดเลือดฝอยขยายตัว เกิดเป็นผื่นนูนแดงและคันขึ้นตามผิวกาย2. มักมีสาเหตุจากการแพ้อาหาร (เช่น อาหารทะเล เนื้อสัตว์ อาหารใส่สี อาหารกระป๋อง) แอลกอฮอล์ (เช่น เหล้า เบียร์) ยา (เช่น แอสไพริน เพนิซิลลิน ซัลฟา) ฝุ่น ละอองเกสร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
161
กันยายน 2535
ถุงลมปอดโป่งพองข้อน่ารู้1. ถุงลมปอด (alveoli) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนปลายสุดของปอด มีลักษณะเป็นถุงอากาศเล็กๆ อยู่ต่อกับหลอดลมฝอยแขนงต่างๆ นับจำนวนเป็นล้านๆ ถุง (เปรียบเหมือนใบไม้ที่เกาะติดอยู่กับปลายของกิ่งไม้กิ่งต่างๆ) และโดยรอบของถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยห่อหุ้มถุงลมปอดจึงเป็นที่ที่มีการแลกเปลี่ยนอากาศ กล่าวคือ ก๊าซออกซิเจน (อากาศดี) ที่มากับลมหายใจเข้าเมื่อเข้ามาอยู่ในถุงลม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
160
สิงหาคม 2535
ท้องเดินเรื้อรัง – โรคธาตุอ่อนข้อน่ารู้1. บางคนอาจมีอาการถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำบ่อยครั้ง เป็นๆหายๆเป็นประจำ โดยที่สุขภาพทั่วไปแข็งแรงดี คนพวกนี้มักไม่มีความผิดปกติทางร่างกายแต่อย่างไร แต่เกิดเพราะกระเพาะลำไส้มีความไวต่อสิ่งเร้าต่างๆ ภาษาหมอเรียกว่า “กลุ่มอาการลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า” (irritable bowel syndrome) ในที่นี้ขอเรียกว่า “โรคธาตุอ่อน” แทน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
159
กรกฎาคม 2535
โรคหัวใจขาดเลือดข้อน่ารู้1.หัวใจของคนเราทำหน้าที่เหมือนเครื่องปั๊มน้ำ เพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย ตัวมันเองประกอบด้วยกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อที่ต้องการเลือดไปเลี้ยงเช่นเดียวกับอวัยวะส่วนอื่นๆ หลอดเลือดที่นำเลือดไปเลี้ยงหัวใจ ภาษาหมอเรียกว่า หลอดเลือดหัวใจ หรือ หลอดเลือดโคโรนารี (coronary artery) ซึ่งมีอยู่หลายแขนง แต่ละแขนงจะแยกกันไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจส่วนต่างๆ2. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
158
มิถุนายน 2535
โรคบิดชิเกลล่าข้อน่ารู้1. โรคบิดในที่นี้ หมายถึง อาการถ่ายเป็นมูกหรือมูกปนเลือดกะปริดกะปรอยบ่อยครั้ง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ชิเกลล่า (shigella) ซึ่งติดต่อโดยทางอาหารการกิน เราเรียกโรคบิดชนิดนี้ว่า “โรคบิดชิเกลล่า”2. โรคนี้พบในคนทุกเพศทุกวัย สามารถป้องกันได้ด้วยการกินอาหารสุก ไม่มีแมลงวันตอม และดื่มน้ำสะอาด3. อันตรายของโรคนี้ คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
157
พฤษภาคม 2535
เอสแอลอี- โรคภูมิแพ้ต่อตัวเองข้อน่ารู้1. เอสแอลอี ชื่อโรคประหลาดนี้เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่า SLE ซึ่งย่อมาจาก “Systemic lupuserythematosus” (ซิสเตมิก-ลูปัส-อีริทีมาโตซัส) เนื่องจากชื่อเต็มนี้ยาวและเรียกยาก ฝรั่งจึงนิยมเรียกว่า SLE แทน ไทยเรายังหาคำที่เหมาะๆไม่ได้ จึงเรียกทับศัพท์ว่า เอสแอลอี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
13
พฤษภาคม 2523
ยาเก็บหนอง-เพนนิซิลลิน วี เพนนิซิลลิน วี (เรียกสั้น ๆ ว่า เพน.วี) เป็นยาปฏิชีวนะ หรือยาต้านจุลชีพชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับยาซัลฟา, เตตร้าซัยคลีน, คลอแรมเฟนิคอล, สเตร็ปโตมัยซิน, กาน่ามัยซิน เป็นต้น พูดกันตามภาชาวบ้านเราก็คือ “ยาเก็บหนอง” ซึ่งหมายถึง ยาที่ใช้ ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ที่ทำให้เกิดการอักเสบหรือเกิดเป็นหนองผีแผลพุพองขึ้น บางคนอาจเรียกว่า “ยาแก้อักเสบ” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
6
ตุลาคม 2522
“การรู้จักดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยของตนเองในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง จะสามารถลดความทุกข์ทรมานและระงับยับยั้งมิให้ลุกลามใหญ่โตต่อไปได้ คอลัมน์นี้เราจึงขอแนะนำให้ท่านได้รู้จักกับโรค และยาที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันอย่างย่อๆ ง่ายๆ เพื่อที่ท่านจะนำไปปฏิบัติดูแลรักษาตัวเองในเบื้องต้นได้”ยาแอสไพรินแอสไพริน นอกจากจะใช้กินแก้อาการไข้ตัวร้อนจากไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ หรือไข้ทุกชนิดแล้ว ...